ความคิดกับปัญญาที่แท้จริง ต่างกันอย่างไร?
พระอาจารย์ตะวัน
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
บทบรรยาย
เราเข้าใจว่าความคิดคือปัญญา ใช่มั้ยล่ะ.. .
คนก็เลยเข้าใจว่าการใช้ความคิด เราคิดได้เก่ง
เราคิดได้ดีเนี่ยคือปัญญา
แต่ปัญญาในคติที่พระพุทธเจ้าท่านหมายถึงคือ
“ปัญญาที่เห็นตรงตามจริง”
.
เมื่อไหร่ที่เราเห็นตรงตามจริง เราก็จะไม่ถูกตัวเองหลอก แต่..
โดยพื้นฐาน เราก็ถูกตัวเองเนี่ยแหละ ห ล อ ก
เราก็เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้
ต้องเป็นเหมือนทุกอย่างที่เราเห็น ที่เราเคยได้ยิน
ต้องมาจากประสบการณ์เราเท่านั้น
ต้องเป็นเหมือนอย่างที่เราเห็นมาเท่านั้น
คนก็เลยเชื่อว่าต้องเป็นไปตามแบบที่เราคิด
เป็นการคาดคะเน แต่มัน“ไม่ใช่ปัญญา”
.
แล้วมันต่างกันยังไง?
ความคิดมันจะปิดเรา ส่วนปัญญามันจะทำให้เราเห็น
ความคิด ก็คือสังขาร คือเราปรุงแต่งขึ้นมาเอง
คือเราเข้าใจไปเองนั่นเอง
ส่วนปัญญาเนี่ย คือ ค ว า ม รู้
ความรู้ที่รู้ได้ด้วยตนเองนั่นแหละ ว่า..อะไรจริง หรืออะไรไม่จริง
.
อะไรเป็นประโยชน์ อะไรเป็นโทษ คือความรู้ที่มันแยกฝั่งออก
เมื่อรู้ เมื่อเห็น ด้วยตัวเองว่าอะไรไม่จริง
ก็จะพ้นจากสิ่งหลอกลวง เมื่อพ้นจากสิ่งหลอกลวง มันก็ไม่ทุกข์ละ
คือพ้นจากตัวเองนั่นเอง ก็ต้องอาศัยกำลัง สติ สมาธิ ปัญญา
.
มันก็ขึ้นอยู่กับการฝึกอบรมเพาะบ่มของเรา
การเพาะบ่มของเรา ก็คือ การเจริญสติ นั่นแหละ
ร ะ ลึ ก รู้ ทั น อ า ร ม ณ์ ตั ว เ อ ง
ร ะ ลึ ก รู้ อ ยู่ ที่ ฐ า น ข อ ง ล ม ห า ย ใ จ ไปเรื่อยๆ
เราก็จะเห็นชัดขึ้น.. .
.
ที่มันเคยวิ่งไปในเรื่องของกามวิตก
ที่มันเคยวิ่งไปในเรื่องของอดีต อนาคต
พอเราระลึก มีกำลังชัดขึ้น
มันก็เริ่ม พอรู้ทันมันก็จะหาย พอเรารู้ทัน มันก็จะเบาลง
.
เริ่มเห็นว่า มั น คิ ด . . เริ่มเห็นว่า”มันคิดของมันเอง”
แล้วก็จะเริ่มเห็นสมบัติเดิมของใจเรา
ว่าใจเรามันมีอะไร มันก็จะแสดง
อ่ออ เพราะเราพัวพัน คลุกคลี กับสัญญาแบบนี้
มันก็เลยปรุงแต่งไปในแบบนี้ มันจะปรุงแต่งไปตามสัญญา
.
คนที่ไปเห็นว่าเราเองเนี่ย ขังตัวเองด้วยความเชื่อ
ด้วยความคิดมานานมากแล้ว
ก็เลยไม่เชื่อ ก็คือไม่เชื่อตัวเองเนี่ยแระ
.
มันหลอกเราความคิดเนี่ย มันหลอกเรามากเลย
คนที่ไปสังเกตเห็นความคิดของตัวเองนั่นแหละ
คือผู้ที่เจริญสติ
.
พอกำลังมาตั้งมั่นอยู่กับปัจจุบัน อินทรีพละก็จะมีกำลังขึ้นมา
อะไรที่เกิดขึ้นก็จะเห็นว่าสิ่งทั้งหลายทั้งปวงมัน “ดับ”
มันจะประจักษ์ขึ้นมาในความรู้ของเรา
นั้นคือความรู้ที่เห็นว่า มั น ไ ม่ จ ริ ง นั่นเอง
.
เมื่อเรารู้มันก็ไม่ต้องถามใครล่ะที่นี้
อ่อ มันเป็นอย่างงี้ของมันเอง
มันเป็นอย่างงี้ มันเกิดขึ้น แล้วมันก็ดับไป.. .
.
เป็นงานที่หนักมากเหมือนกันนะ งานจิตภาวนา เพราะมันละเอียดมากตัวนี้
.
(บทความถอดจากไลฟ์สด ถาม-ตอบ ปัญหาธรรม #พระอาจารย์ตะวัน 8 ส.ค. 65)
เราเข้าใจว่าความคิดคือปัญญา ใช่มั้ยล่ะ.. .
คนก็เลยเข้าใจว่าการใช้ความคิด เราคิดได้เก่ง
เราคิดได้ดีเนี่ยคือปัญญา
แต่ปัญญาในคติที่พระพุทธเจ้าท่านหมายถึงคือ
“ปัญญาที่เห็นตรงตามจริง”
.
เมื่อไหร่ที่เราเห็นตรงตามจริง เราก็จะไม่ถูกตัวเองหลอก แต่..
โดยพื้นฐาน เราก็ถูกตัวเองเนี่ยแหละ ห ล อ ก
เราก็เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้
ต้องเป็นเหมือนทุกอย่างที่เราเห็น ที่เราเคยได้ยิน
ต้องมาจากประสบการณ์เราเท่านั้น
ต้องเป็นเหมือนอย่างที่เราเห็นมาเท่านั้น
คนก็เลยเชื่อว่าต้องเป็นไปตามแบบที่เราคิด
เป็นการคาดคะเน แต่มัน“ไม่ใช่ปัญญา”
.
แล้วมันต่างกันยังไง?
ความคิดมันจะปิดเรา ส่วนปัญญามันจะทำให้เราเห็น
ความคิด ก็คือสังขาร คือเราปรุงแต่งขึ้นมาเอง
คือเราเข้าใจไปเองนั่นเอง
ส่วนปัญญาเนี่ย คือ ค ว า ม รู้
ความรู้ที่รู้ได้ด้วยตนเองนั่นแหละ ว่า..อะไรจริง หรืออะไรไม่จริง
.
อะไรเป็นประโยชน์ อะไรเป็นโทษ คือความรู้ที่มันแยกฝั่งออก
เมื่อรู้ เมื่อเห็น ด้วยตัวเองว่าอะไรไม่จริง
ก็จะพ้นจากสิ่งหลอกลวง เมื่อพ้นจากสิ่งหลอกลวง มันก็ไม่ทุกข์ละ
คือพ้นจากตัวเองนั่นเอง ก็ต้องอาศัยกำลัง สติ สมาธิ ปัญญา
.
มันก็ขึ้นอยู่กับการฝึกอบรมเพาะบ่มของเรา
การเพาะบ่มของเรา ก็คือ การเจริญสติ นั่นแหละ
ร ะ ลึ ก รู้ ทั น อ า ร ม ณ์ ตั ว เ อ ง
ร ะ ลึ ก รู้ อ ยู่ ที่ ฐ า น ข อ ง ล ม ห า ย ใ จ ไปเรื่อยๆ
เราก็จะเห็นชัดขึ้น.. .
.
ที่มันเคยวิ่งไปในเรื่องของกามวิตก
ที่มันเคยวิ่งไปในเรื่องของอดีต อนาคต
พอเราระลึก มีกำลังชัดขึ้น
มันก็เริ่ม พอรู้ทันมันก็จะหาย พอเรารู้ทัน มันก็จะเบาลง
.
เริ่มเห็นว่า มั น คิ ด . . เริ่มเห็นว่า”มันคิดของมันเอง”
แล้วก็จะเริ่มเห็นสมบัติเดิมของใจเรา
ว่าใจเรามันมีอะไร มันก็จะแสดง
อ่ออ เพราะเราพัวพัน คลุกคลี กับสัญญาแบบนี้
มันก็เลยปรุงแต่งไปในแบบนี้ มันจะปรุงแต่งไปตามสัญญา
.
คนที่ไปเห็นว่าเราเองเนี่ย ขังตัวเองด้วยความเชื่อ
ด้วยความคิดมานานมากแล้ว
ก็เลยไม่เชื่อ ก็คือไม่เชื่อตัวเองเนี่ยแระ
.
มันหลอกเราความคิดเนี่ย มันหลอกเรามากเลย
คนที่ไปสังเกตเห็นความคิดของตัวเองนั่นแหละ
คือผู้ที่เจริญสติ
.
พอกำลังมาตั้งมั่นอยู่กับปัจจุบัน อินทรีพละก็จะมีกำลังขึ้นมา
อะไรที่เกิดขึ้นก็จะเห็นว่าสิ่งทั้งหลายทั้งปวงมัน “ดับ”
มันจะประจักษ์ขึ้นมาในความรู้ของเรา
นั้นคือความรู้ที่เห็นว่า มั น ไ ม่ จ ริ ง นั่นเอง
.
เมื่อเรารู้มันก็ไม่ต้องถามใครล่ะที่นี้
อ่อ มันเป็นอย่างงี้ของมันเอง
มันเป็นอย่างงี้ มันเกิดขึ้น แล้วมันก็ดับไป.. .
.
เป็นงานที่หนักมากเหมือนกันนะ งานจิตภาวนา เพราะมันละเอียดมากตัวนี้
.
(บทความถอดจากไลฟ์สด ถาม-ตอบ ปัญหาธรรม #พระอาจารย์ตะวัน 8 ส.ค. 65)
เราเข้าใจว่าความคิดคือปัญญา ใช่มั้ยล่ะ.. .
คนก็เลยเข้าใจว่าการใช้ความคิด เราคิดได้เก่ง
เราคิดได้ดีเนี่ยคือปัญญา
แต่ปัญญาในคติที่พระพุทธเจ้าท่านหมายถึงคือ
“ปัญญาที่เห็นตรงตามจริง”
.
เมื่อไหร่ที่เราเห็นตรงตามจริง เราก็จะไม่ถูกตัวเองหลอก แต่..
โดยพื้นฐาน เราก็ถูกตัวเองเนี่ยแหละ ห ล อ ก
เราก็เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้
ต้องเป็นเหมือนทุกอย่างที่เราเห็น ที่เราเคยได้ยิน
ต้องมาจากประสบการณ์เราเท่านั้น
ต้องเป็นเหมือนอย่างที่เราเห็นมาเท่านั้น
คนก็เลยเชื่อว่าต้องเป็นไปตามแบบที่เราคิด
เป็นการคาดคะเน แต่มัน“ไม่ใช่ปัญญา”
.
แล้วมันต่างกันยังไง?
ความคิดมันจะปิดเรา ส่วนปัญญามันจะทำให้เราเห็น
ความคิด ก็คือสังขาร คือเราปรุงแต่งขึ้นมาเอง
คือเราเข้าใจไปเองนั่นเอง
ส่วนปัญญาเนี่ย คือ ค ว า ม รู้
ความรู้ที่รู้ได้ด้วยตนเองนั่นแหละ ว่า..อะไรจริง หรืออะไรไม่จริง
.
อะไรเป็นประโยชน์ อะไรเป็นโทษ คือความรู้ที่มันแยกฝั่งออก
เมื่อรู้ เมื่อเห็น ด้วยตัวเองว่าอะไรไม่จริง
ก็จะพ้นจากสิ่งหลอกลวง เมื่อพ้นจากสิ่งหลอกลวง มันก็ไม่ทุกข์ละ
คือพ้นจากตัวเองนั่นเอง ก็ต้องอาศัยกำลัง สติ สมาธิ ปัญญา
.
มันก็ขึ้นอยู่กับการฝึกอบรมเพาะบ่มของเรา
การเพาะบ่มของเรา ก็คือ การเจริญสติ นั่นแหละ
ร ะ ลึ ก รู้ ทั น อ า ร ม ณ์ ตั ว เ อ ง
ร ะ ลึ ก รู้ อ ยู่ ที่ ฐ า น ข อ ง ล ม ห า ย ใ จ ไปเรื่อยๆ
เราก็จะเห็นชัดขึ้น.. .
.
ที่มันเคยวิ่งไปในเรื่องของกามวิตก
ที่มันเคยวิ่งไปในเรื่องของอดีต อนาคต
พอเราระลึก มีกำลังชัดขึ้น
มันก็เริ่ม พอรู้ทันมันก็จะหาย พอเรารู้ทัน มันก็จะเบาลง
.
เริ่มเห็นว่า มั น คิ ด . . เริ่มเห็นว่า”มันคิดของมันเอง”
แล้วก็จะเริ่มเห็นสมบัติเดิมของใจเรา
ว่าใจเรามันมีอะไร มันก็จะแสดง
อ่ออ เพราะเราพัวพัน คลุกคลี กับสัญญาแบบนี้
มันก็เลยปรุงแต่งไปในแบบนี้ มันจะปรุงแต่งไปตามสัญญา
.
คนที่ไปเห็นว่าเราเองเนี่ย ขังตัวเองด้วยความเชื่อ
ด้วยความคิดมานานมากแล้ว
ก็เลยไม่เชื่อ ก็คือไม่เชื่อตัวเองเนี่ยแระ
.
มันหลอกเราความคิดเนี่ย มันหลอกเรามากเลย
คนที่ไปสังเกตเห็นความคิดของตัวเองนั่นแหละ
คือผู้ที่เจริญสติ
.
พอกำลังมาตั้งมั่นอยู่กับปัจจุบัน อินทรีพละก็จะมีกำลังขึ้นมา
อะไรที่เกิดขึ้นก็จะเห็นว่าสิ่งทั้งหลายทั้งปวงมัน “ดับ”
มันจะประจักษ์ขึ้นมาในความรู้ของเรา
นั้นคือความรู้ที่เห็นว่า มั น ไ ม่ จ ริ ง นั่นเอง
.
เมื่อเรารู้มันก็ไม่ต้องถามใครล่ะที่นี้
อ่อ มันเป็นอย่างงี้ของมันเอง
มันเป็นอย่างงี้ มันเกิดขึ้น แล้วมันก็ดับไป.. .
.
เป็นงานที่หนักมากเหมือนกันนะ งานจิตภาวนา เพราะมันละเอียดมากตัวนี้
.
(บทความถอดจากไลฟ์สด ถาม-ตอบ ปัญหาธรรม #พระอาจารย์ตะวัน 8 ส.ค. 65)
เราเข้าใจว่าความคิดคือปัญญา ใช่มั้ยล่ะ.. .
คนก็เลยเข้าใจว่าการใช้ความคิด เราคิดได้เก่ง
เราคิดได้ดีเนี่ยคือปัญญา
แต่ปัญญาในคติที่พระพุทธเจ้าท่านหมายถึงคือ
“ปัญญาที่เห็นตรงตามจริง”
.
เมื่อไหร่ที่เราเห็นตรงตามจริง เราก็จะไม่ถูกตัวเองหลอก แต่..
โดยพื้นฐาน เราก็ถูกตัวเองเนี่ยแหละ ห ล อ ก
เราก็เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้
ต้องเป็นเหมือนทุกอย่างที่เราเห็น ที่เราเคยได้ยิน
ต้องมาจากประสบการณ์เราเท่านั้น
ต้องเป็นเหมือนอย่างที่เราเห็นมาเท่านั้น
คนก็เลยเชื่อว่าต้องเป็นไปตามแบบที่เราคิด
เป็นการคาดคะเน แต่มัน“ไม่ใช่ปัญญา”
.
แล้วมันต่างกันยังไง?
ความคิดมันจะปิดเรา ส่วนปัญญามันจะทำให้เราเห็น
ความคิด ก็คือสังขาร คือเราปรุงแต่งขึ้นมาเอง
คือเราเข้าใจไปเองนั่นเอง
ส่วนปัญญาเนี่ย คือ ค ว า ม รู้
ความรู้ที่รู้ได้ด้วยตนเองนั่นแหละ ว่า..อะไรจริง หรืออะไรไม่จริง
.
อะไรเป็นประโยชน์ อะไรเป็นโทษ คือความรู้ที่มันแยกฝั่งออก
เมื่อรู้ เมื่อเห็น ด้วยตัวเองว่าอะไรไม่จริง
ก็จะพ้นจากสิ่งหลอกลวง เมื่อพ้นจากสิ่งหลอกลวง มันก็ไม่ทุกข์ละ
คือพ้นจากตัวเองนั่นเอง ก็ต้องอาศัยกำลัง สติ สมาธิ ปัญญา
.
มันก็ขึ้นอยู่กับการฝึกอบรมเพาะบ่มของเรา
การเพาะบ่มของเรา ก็คือ การเจริญสติ นั่นแหละ
ร ะ ลึ ก รู้ ทั น อ า ร ม ณ์ ตั ว เ อ ง
ร ะ ลึ ก รู้ อ ยู่ ที่ ฐ า น ข อ ง ล ม ห า ย ใ จ ไปเรื่อยๆ
เราก็จะเห็นชัดขึ้น.. .
.
ที่มันเคยวิ่งไปในเรื่องของกามวิตก
ที่มันเคยวิ่งไปในเรื่องของอดีต อนาคต
พอเราระลึก มีกำลังชัดขึ้น
มันก็เริ่ม พอรู้ทันมันก็จะหาย พอเรารู้ทัน มันก็จะเบาลง
.
เริ่มเห็นว่า มั น คิ ด . . เริ่มเห็นว่า”มันคิดของมันเอง”
แล้วก็จะเริ่มเห็นสมบัติเดิมของใจเรา
ว่าใจเรามันมีอะไร มันก็จะแสดง
อ่ออ เพราะเราพัวพัน คลุกคลี กับสัญญาแบบนี้
มันก็เลยปรุงแต่งไปในแบบนี้ มันจะปรุงแต่งไปตามสัญญา
.
คนที่ไปเห็นว่าเราเองเนี่ย ขังตัวเองด้วยความเชื่อ
ด้วยความคิดมานานมากแล้ว
ก็เลยไม่เชื่อ ก็คือไม่เชื่อตัวเองเนี่ยแระ
.
มันหลอกเราความคิดเนี่ย มันหลอกเรามากเลย
คนที่ไปสังเกตเห็นความคิดของตัวเองนั่นแหละ
คือผู้ที่เจริญสติ
.
พอกำลังมาตั้งมั่นอยู่กับปัจจุบัน อินทรีพละก็จะมีกำลังขึ้นมา
อะไรที่เกิดขึ้นก็จะเห็นว่าสิ่งทั้งหลายทั้งปวงมัน “ดับ”
มันจะประจักษ์ขึ้นมาในความรู้ของเรา
นั้นคือความรู้ที่เห็นว่า มั น ไ ม่ จ ริ ง นั่นเอง
.
เมื่อเรารู้มันก็ไม่ต้องถามใครล่ะที่นี้
อ่อ มันเป็นอย่างงี้ของมันเอง
มันเป็นอย่างงี้ มันเกิดขึ้น แล้วมันก็ดับไป.. .
.
เป็นงานที่หนักมากเหมือนกันนะ งานจิตภาวนา เพราะมันละเอียดมากตัวนี้
.
(บทความถอดจากไลฟ์สด ถาม-ตอบ ปัญหาธรรม #พระอาจารย์ตะวัน 8 ส.ค. 65)
พระอาจารย์ตะวัน
สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์
พระอาจารย์ตะวัน
สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์
พระอาจารย์ตะวัน
สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์
พระอาจารย์ตะวัน
สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์
ธรรมมะจากผู้บรรยายเดียวกัน
พระอาจารย์ตะวัน
สมบัติของใจ
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
สมบัติของใจ
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
สมบัติของใจ
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
เพราะความไม่รู้
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
เพราะความไม่รู้
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
เพราะความไม่รู้
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
พิสูจน์ตัวเอง
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
พิสูจน์ตัวเอง
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
พิสูจน์ตัวเอง
ข้อธรรมคําสอน
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com