ว่าด้วยเรื่อง ความคิด
ครูบาฉ่าย
บทบรรยาย
ครูบาฉ่าย
บทบรรยาย
ครูบาฉ่าย
บทบรรยาย
ครูบาฉ่าย
บทบรรยาย
โดยธรรมชาติของเราเนี่ย
ผู้ที่ไม่เคยฝึกหัดการภาวนาเลย
มันจะคิดอยู่ตลอดเวลา ไม่เคยว่างเลย
ขนาดหลับมันก็ยังคิด
มันจะว่างเฉพาะตอนที่มันหลับสนิทเท่านั้น
เวลาหลับไม่ฝันนั่นแหละ
คือจิตคือจิตได้ว่าง ได้พักจริงๆ
.
แต่กี่วันล่ะ? จะเจอครั้งนึง นานๆทีได้เจอใช่ไหมล่ะ ?
ไม่ใช่ว่าเราจะหลับไม่ฝันตลอด
เวลาเราหลับไม่ฝัน ตื่นมานี่ สดชื่นมาก
รู้สึกว่ากระปรี้กระเปร่า มีกำลังมากนะ
เพราะจิตได้พักผ่อน กายพัก จิตพัก เขาเรียก
.
การปฏิบัติ(เมื่อก่อน) เลยมุ่งไปในทางที่
หยุดกระแสความคิดปรุงแต่งทั้งหมด แต่.. .
.
หลับตาลงนี่ เรากำหนดความรู้
มาจดจ่ออยู่ที่ลมหายใจ
ได้ไม่กี่ลมหรอก มันก็จะคิดไปอีกแล้ว
เราไม่เคยควบคุมกำกับความคิดตัวนี้ได้เลย
.
ทั้งที่เราก็ว่าเรารู้ธรรมะมาเยอะแล้ว
อ่านแล้วหมดแล้วศึกษากันหมดแล้ว
แต่เราไม่สามารถบังคับบัญชาการ
หยุดความคิดของตัวเองได้
.
ความคิดนี่ แยกเป็น 2 แบบ
หนึ่ง.. “เราคิด” คือเรามีเจตนาเป็นผู้คิด
ไอ้เจตนาเป็นผู้คิด คือ
คิดเหมือนคำพูดของเราเลย เช่น
เอาล่ะ! ต่อไปนี้ เราจะทำสมาธิมุ่งไปสู่ความสงบ
มันเหมือนกับเราพูดนี่แหละ
แต่ว่ามันไม่ได้พูดออกมา
มันพูดอยู่ในใจ นี่เรียกว่า “เ ร า คิ ด”
.
สอง.. “มันคิด” โดยที่เราไม่มีเจตนาร่วม
อ ยู่ ดี ๆ มั น ก็ ผุ ด ขึ้ น ม า
คิดเรื่องนั้นเรื่องนี้ขึ้นมา โดยที่เราไม่ได้ตั้งใจ
ไม่รู้ว่ามันผุดมาจากไหนด้วยซ้ำไป
นั่นคือ “มั น คิ ด”
.
ต้องเห็นอย่างนี้ ว่า
ความคิดมันมี 2 อย่าง
ไอ้ เ ร า คิ ด นี่.. ไม่มีปัญหา ทำให้เราเดือดร้อนไม่ได้
แต่ มั น คิ ด เนี่ย มันจะทำให้เราเดือดร้อน
อย่างน้อยๆนี่ ฟุ้ ง ซ่ า น เกิดความรำคาญ
เกิดความไม่สงบนี่คือ มันคิด เห็นไหม?
.
ทีนี้ ในเมื่อเรารู้แล้วว่า
ไอ้ความคิดทำให้จิตไม่สงบคือ
มันเกิดความฟุ้งซ่าน จิตมันทำงาน
มันจะวิ่งเที่ยวอยู่ในสัญญา อยู่ในสังขารตลอดเวลา
อย่าลืมว่าจิตตั้งอยู่ 4 อย่าง จะเที่ยวอยู่ในสี่ภพเท่านั้น
.
ที่เรียกว่า “ขันธ์”
รูป เวทนา สัญญา สังขาร
.
ไอ้ตัววิญญาณเนี่ย นามธรรม ที่เรียกว่าวิญญาณเนี่ย
จะเรียกว่าตัวธาตุรู้ก็ได้
หรือ เรียกว่ารู้ก็ได้ เรียกว่าจิตก็ได้
ต้องเข้าใจอย่างนี้นะ ตัววิญญาณนี่คือ
ตัวรับรู้ มันรับรู้ในขันธ์ทั้ง 4 นี้
.
ทำอย่างไรถึงจะบังคับตัวนี้
ตั้งอยู่เพียงแค่ขันธ์ใด ขันธ์หนึ่ง เท่านั้น
แล้วขันธ์ใดล่ะ ?
ที่จะไม่ไม่สร้างความเดือดร้อนให้
ก็คือ “ รู ป ” เท่านั้นเอง
.
ถ้าวิญญาณตั้งอยู่ในความคิดปั๊บ ฟุ้งไปเรื่อยเลย
กำกับบัญชาการความคิดไม่ได้ ฟุ้งไปหมด
.
ตั้งอยู่ในเวทนาก็เหมือนกัน
เมื่อวิญญาณตั้งอยู่ในเวทนา
เวทนามันไม่ปรากฏอยู่ตลอดเวลาเนี่ย
มันเปลี่ยนแปลง มันเคลื่อน
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เห็นไหม
เจ็บแล้วก็หายเจ็บ เดี๋ยวเจ็บ เดี๋ยวหาย
เดี๋ยวสุข เดี๋ยวทุกข์ เปลี่ยนแปลง
เดี๋ยวเฉยๆ มันเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
.
เพราะฉะนั้นถ้าจิตมันตั้งอยู่ที่เวทนานี้ก็ไม่เที่ยง
.
สัญญาทีเนี่ย เอ้า! ..
มันจะตั้งอยู่ในสัญญาเดียวได้ไหมจิตน่ะ
มันจะขุดสัญญาเก่าขึ้นมาคิด มาปรุงต่อ
เพราะมันทำงานเกื้อกูลกัน ระหว่างสัญญากับสังขาร
มันทำงานเกื้อกูลกันไปหมด
.
แค่เราบังคับคิดแค่คำบริกรรมยังทำได้ยากเลย
ในเมื่อ อยากคิด..
ให้คิดแต่คำบริกรรมคือ พุทกับโธ เท่านั้น
หายใจเข้าพุท หายใจออกโธ แค่เนี่ย
ทำได้ไหม ยาก!! เห็นไหม
.
เพราะของมันไม่เคยทำ ของมันไม่ชำนาญ
นี่แหละ จึงบังคับจิตให้มาตั้งอยู่ที่กายเท่านั้น
ที่เรียกว่า รูป
เอาวิญญาณตัวนั้นน่ะ ตัวรู้น่ะ
มาตั้งอยู่ที่กาย ตั้งอยู่ที่กายนี้
.
คำว่ากายนี่ คือ “ล ม”
ลมหายใจเข้า หายใจออก
นี่คือกาย เพราะมันสัมผัสต้องอยู่ที่กายเท่านั้น
.
ในเมื่อเรามานั่งนิ่งๆแล้ว ระงับการเคลื่อนไหว
ปิดอายตนะทั้งหมด ตาไม่เห็น หลับตา
นั่งในที่สงัด หูไม่ให้ได้ยินเสียง
เขาเรียกว่า ปิดการทำงานทั้งหมด
ไม่กินอะไร นั่งเฉยๆ แต่สิ่งที่มันเคลื่อนอยู่ทีนี้
มันจะมีอยู่อะไรที่มันเคลื่อน เอ้า.. .
ตัวกายที่มันเคลื่อนอยู่คืออะไรล่ะ
.
“ลมหายใจเข้า” “หายใจออก” เห็นไหม
.
มันเด่นที่สุดแล้ว เพราะสิ่งอื่นมันระงับหมดแล้ว
มันนั่งเฉยๆ มันไม่ได้ขยับ เราไม่ได้เดิน
แต่ถ้าเดินเมื่อไหร่ปุ๊บ การเดินจะเด่นกว่าลม
เวลาเดินจงกรมอย่างเงี้ย
ท่านถึงให้เอาความรู้ อยู่ที่การก้าวเดิน
ก็เป็นกายเหมือนกัน จิตตั้งอยู่ที่กายเหมือนกัน
.
แต่พอมานั่งอยู่เฉยๆปุ๊บ
ลม เป็นตัวเคลื่อนเข้า เคลื่อนออก
สัมผัสได้ดีที่สุด
.
แต่.. พอนั่งเฉยๆปุ๊บ มันไม่อยู่แค่กายทีนี่
มันไปเที่ยวอยู่ในอีก 3 ขันธ์ เห็นไหม
.
โดยเฉพาะความคิดเนี่ย
มันมันทำงานอยู่ตลอดเวลา
จึงพยายามบังคับจิต ให้มาตั้งอยู่ที่ลมให้ได้
การที่จะบังคับจิตให้มันมาจดจ่อ
อยู่ที่อารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง
คือ รูป คือลมหายใจเข้า หายใจออก
ที่เรียกว่ากายเนี่ย ยากมาก .. .
.
หายใจเข้าปื๊ดดดด มันคิดไปละ
แค่เผลอนิดเดียว มันคิดไปแล้ว
ยิ่งเวลาเคลิ้มๆทีนี่
ทำไปทำมาเริ่มเกิดความเคยชิน หลุด..
.
ไปเจออีกทีนึง นู่นมันคิดไปนู่นแระ
ส่วนใหญ่มันจะไปเที่ยวในอดีต
นี่เลย! ผู้ฝึกใหม่ๆเลย
จิตจะวิ่งไปเที่ยวในอดีตทั้งหมด
มันจะไปเที่ยวนู่นสมัยมันเด็ก
อย่างนั้น อย่างนี้ มันเคยทำอะไรไว้
มันจะไปเพลิดเพลินไปนู่น มันจะไปอย่างงั้น
.
ทีนี้พอเราดึงมันกลับมาปั๊บ
เริ่มหนักเข้า หนักเข้า ทำอย่างนี้บ่อยๆ
เริ่มจินตนาการ เริ่มด้นเริ่มเดา
คาดว่า หวังว่า ต้องเป็นอย่างนั้น
ต้องเป็นอย่างนี้ ไปในอนาคต
.
ในความคิดนี่จะประกอบไปด้วย 2 สิ่ง
กุศล กับ อกุศล .. คิดดีกับคิดไม่ดีเท่านั้น
คิดดีก็เป็นเวทนาฝ่ายบวก
คิดไม่ดีเป็นเวทนาฝ่ายลบ ใช่มั้ย.. .
.
ทำไมมันถึงคิดล่ะ เพราะมันต้องการอาหาร
จิ ต นี่ เ ส พ อ า ร ม ณ์
ถ้าไม่ได้มีอารมณ์ให้มันเสพอยู่นี่ มันอยู่ไม่ได้
มันต้องเสพอารมณ์ อาหารของจิตนี้คืออารมณ์
อาหารของกายนี่คือ ข้าวปลาอาหาร เรียกว่าธาตุ
แต่จิตนี้ เสพอารมณ์ เสพความพอใจความไม่พอใจ
.
ในเมื่ออาหารชั้นเลิศหาให้มันไม่ได้
มันก็ต้องเสพเรื่องของกาม
ต้องอาศัยการดูนั่นดูนี่ฟังนั่นฟังนี่
ไปเที่ยวนั่น เที่ยวนี่ มันถึงออกแสวงหาดิ้นรน
เพราะมันอยู่ไม่ได้ “มั น ทุ ก ข์”
.
เพราะจิตไม่มีสมาธิเป็นเครื่องอยู่
ไม่มีสมาธิเป็นอาหารของจิต
.
แต่ถ้าใครเข้าสู่สภาวะความสงบได้
นี่มันจะอยู่ มันจะพอ
จะอยู่เฉยๆ มันจะไม่อยากไปนั่นไม่อยากไปนี่
เฉยๆ อยู่ไหนก็อยู่ได้เขาเรียกว่าสงบ
“สงบจาก ตั ณ ห า” สงบจากความอยาก
.
เพราะจิตได้อาหาร คือ ความสงบนั้น
เป็นอาหารชั้นเลิศของจิต
จิตเกิดความพอใจ เกิดความอิ่มเอม
ความปิติ ความสุขจากความสงบนั้น
มันจึงไม่ต้องการสิ่งใด เขาเรียกว่า “พ อ”
.
ความคิดที่ไม่ได้เกิดบนฐานของสมาธิ
จะเป็นการปรุงแต่งทั้งหมด ปรุงแต่งหมด
จนกว่าจิตจะเข้าถึงสภาวะ
เขาเรียกว่าสมาธิ หรือ
“ค ว า ม ตั้ ง มั่ น”
ความรู้ของจิตจะ ปรากฏขึ้น
.
จะเรียนรู้สิ่งที่ปรากฏขึ้นตามความเป็นจริง
ไม่ได้ไปนั่งจินตนาการ ด้นเดาเอา
.
ผมเปรียบสมถะเหมือนน้ำที่มันนิ่ง
น้ำที่ไม่ที่ยังไม่นิ่งเนี่ย
เราจะไม่สามารถมองเห็นเงาในน้ำได้เลย
เราชะโงกหน้าลงไปในน้ำ
เราจะไม่สามารถเห็นเงาในน้ำได้ชัด
เพราะน้ำนั้นยังไม่นิ่ง
.
สมถะก็คือการทำน้ำนั้น ให้มันนิ่ง
คือ ทำจิตให้มัน ส ง บ
.
เพราะน้ำมันนิ่งมากเท่าไหร่
ยิ่งค่อยๆจะเริ่มเห็น “ความจริง”
ของเงาที่ปรากฎอยู่ในนั้น
ชัดขึ้นเรื่อยๆ ตามความสงบนั้น
.
ยิ่งสงบราบเรียบ เหมือนกระจก
เราจะเห็นหมดเลยว่า
ตาเราเป็นยังไง จมูกเราเป็นยังไง
หน้าตาเราเป็นยังไง
เห็นด้วย ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง
ไม่ต้องปรุงแต่ง
ไม่ต้องด้นเดาว่า
คาดว่า หวังว่า คิดว่า
.
นี่เขาเรียกว่า “เห็นตามความเป็นจริง”
.
ด้วยความละเอียด ด้วยความใสของน้ำ
เราจะสามารถมองทะลุลงไปในน้ำได้ว่า
ในน้ำนั้น มีอะไรอยู่บ้าง .. .
ตามลำดับขั้นของสติปัญญา
.
(บทความถอดจากไลฟ์สด #ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ 4 ก.ค. 65)
#วัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์
โดยธรรมชาติของเราเนี่ย
ผู้ที่ไม่เคยฝึกหัดการภาวนาเลย
มันจะคิดอยู่ตลอดเวลา ไม่เคยว่างเลย
ขนาดหลับมันก็ยังคิด
มันจะว่างเฉพาะตอนที่มันหลับสนิทเท่านั้น
เวลาหลับไม่ฝันนั่นแหละ
คือจิตคือจิตได้ว่าง ได้พักจริงๆ
.
แต่กี่วันล่ะ? จะเจอครั้งนึง นานๆทีได้เจอใช่ไหมล่ะ ?
ไม่ใช่ว่าเราจะหลับไม่ฝันตลอด
เวลาเราหลับไม่ฝัน ตื่นมานี่ สดชื่นมาก
รู้สึกว่ากระปรี้กระเปร่า มีกำลังมากนะ
เพราะจิตได้พักผ่อน กายพัก จิตพัก เขาเรียก
.
การปฏิบัติ(เมื่อก่อน) เลยมุ่งไปในทางที่
หยุดกระแสความคิดปรุงแต่งทั้งหมด แต่.. .
.
หลับตาลงนี่ เรากำหนดความรู้
มาจดจ่ออยู่ที่ลมหายใจ
ได้ไม่กี่ลมหรอก มันก็จะคิดไปอีกแล้ว
เราไม่เคยควบคุมกำกับความคิดตัวนี้ได้เลย
.
ทั้งที่เราก็ว่าเรารู้ธรรมะมาเยอะแล้ว
อ่านแล้วหมดแล้วศึกษากันหมดแล้ว
แต่เราไม่สามารถบังคับบัญชาการ
หยุดความคิดของตัวเองได้
.
ความคิดนี่ แยกเป็น 2 แบบ
หนึ่ง.. “เราคิด” คือเรามีเจตนาเป็นผู้คิด
ไอ้เจตนาเป็นผู้คิด คือ
คิดเหมือนคำพูดของเราเลย เช่น
เอาล่ะ! ต่อไปนี้ เราจะทำสมาธิมุ่งไปสู่ความสงบ
มันเหมือนกับเราพูดนี่แหละ
แต่ว่ามันไม่ได้พูดออกมา
มันพูดอยู่ในใจ นี่เรียกว่า “เ ร า คิ ด”
.
สอง.. “มันคิด” โดยที่เราไม่มีเจตนาร่วม
อ ยู่ ดี ๆ มั น ก็ ผุ ด ขึ้ น ม า
คิดเรื่องนั้นเรื่องนี้ขึ้นมา โดยที่เราไม่ได้ตั้งใจ
ไม่รู้ว่ามันผุดมาจากไหนด้วยซ้ำไป
นั่นคือ “มั น คิ ด”
.
ต้องเห็นอย่างนี้ ว่า
ความคิดมันมี 2 อย่าง
ไอ้ เ ร า คิ ด นี่.. ไม่มีปัญหา ทำให้เราเดือดร้อนไม่ได้
แต่ มั น คิ ด เนี่ย มันจะทำให้เราเดือดร้อน
อย่างน้อยๆนี่ ฟุ้ ง ซ่ า น เกิดความรำคาญ
เกิดความไม่สงบนี่คือ มันคิด เห็นไหม?
.
ทีนี้ ในเมื่อเรารู้แล้วว่า
ไอ้ความคิดทำให้จิตไม่สงบคือ
มันเกิดความฟุ้งซ่าน จิตมันทำงาน
มันจะวิ่งเที่ยวอยู่ในสัญญา อยู่ในสังขารตลอดเวลา
อย่าลืมว่าจิตตั้งอยู่ 4 อย่าง จะเที่ยวอยู่ในสี่ภพเท่านั้น
.
ที่เรียกว่า “ขันธ์”
รูป เวทนา สัญญา สังขาร
.
ไอ้ตัววิญญาณเนี่ย นามธรรม ที่เรียกว่าวิญญาณเนี่ย
จะเรียกว่าตัวธาตุรู้ก็ได้
หรือ เรียกว่ารู้ก็ได้ เรียกว่าจิตก็ได้
ต้องเข้าใจอย่างนี้นะ ตัววิญญาณนี่คือ
ตัวรับรู้ มันรับรู้ในขันธ์ทั้ง 4 นี้
.
ทำอย่างไรถึงจะบังคับตัวนี้
ตั้งอยู่เพียงแค่ขันธ์ใด ขันธ์หนึ่ง เท่านั้น
แล้วขันธ์ใดล่ะ ?
ที่จะไม่ไม่สร้างความเดือดร้อนให้
ก็คือ “ รู ป ” เท่านั้นเอง
.
ถ้าวิญญาณตั้งอยู่ในความคิดปั๊บ ฟุ้งไปเรื่อยเลย
กำกับบัญชาการความคิดไม่ได้ ฟุ้งไปหมด
.
ตั้งอยู่ในเวทนาก็เหมือนกัน
เมื่อวิญญาณตั้งอยู่ในเวทนา
เวทนามันไม่ปรากฏอยู่ตลอดเวลาเนี่ย
มันเปลี่ยนแปลง มันเคลื่อน
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เห็นไหม
เจ็บแล้วก็หายเจ็บ เดี๋ยวเจ็บ เดี๋ยวหาย
เดี๋ยวสุข เดี๋ยวทุกข์ เปลี่ยนแปลง
เดี๋ยวเฉยๆ มันเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
.
เพราะฉะนั้นถ้าจิตมันตั้งอยู่ที่เวทนานี้ก็ไม่เที่ยง
.
สัญญาทีเนี่ย เอ้า! ..
มันจะตั้งอยู่ในสัญญาเดียวได้ไหมจิตน่ะ
มันจะขุดสัญญาเก่าขึ้นมาคิด มาปรุงต่อ
เพราะมันทำงานเกื้อกูลกัน ระหว่างสัญญากับสังขาร
มันทำงานเกื้อกูลกันไปหมด
.
แค่เราบังคับคิดแค่คำบริกรรมยังทำได้ยากเลย
ในเมื่อ อยากคิด..
ให้คิดแต่คำบริกรรมคือ พุทกับโธ เท่านั้น
หายใจเข้าพุท หายใจออกโธ แค่เนี่ย
ทำได้ไหม ยาก!! เห็นไหม
.
เพราะของมันไม่เคยทำ ของมันไม่ชำนาญ
นี่แหละ จึงบังคับจิตให้มาตั้งอยู่ที่กายเท่านั้น
ที่เรียกว่า รูป
เอาวิญญาณตัวนั้นน่ะ ตัวรู้น่ะ
มาตั้งอยู่ที่กาย ตั้งอยู่ที่กายนี้
.
คำว่ากายนี่ คือ “ล ม”
ลมหายใจเข้า หายใจออก
นี่คือกาย เพราะมันสัมผัสต้องอยู่ที่กายเท่านั้น
.
ในเมื่อเรามานั่งนิ่งๆแล้ว ระงับการเคลื่อนไหว
ปิดอายตนะทั้งหมด ตาไม่เห็น หลับตา
นั่งในที่สงัด หูไม่ให้ได้ยินเสียง
เขาเรียกว่า ปิดการทำงานทั้งหมด
ไม่กินอะไร นั่งเฉยๆ แต่สิ่งที่มันเคลื่อนอยู่ทีนี้
มันจะมีอยู่อะไรที่มันเคลื่อน เอ้า.. .
ตัวกายที่มันเคลื่อนอยู่คืออะไรล่ะ
.
“ลมหายใจเข้า” “หายใจออก” เห็นไหม
.
มันเด่นที่สุดแล้ว เพราะสิ่งอื่นมันระงับหมดแล้ว
มันนั่งเฉยๆ มันไม่ได้ขยับ เราไม่ได้เดิน
แต่ถ้าเดินเมื่อไหร่ปุ๊บ การเดินจะเด่นกว่าลม
เวลาเดินจงกรมอย่างเงี้ย
ท่านถึงให้เอาความรู้ อยู่ที่การก้าวเดิน
ก็เป็นกายเหมือนกัน จิตตั้งอยู่ที่กายเหมือนกัน
.
แต่พอมานั่งอยู่เฉยๆปุ๊บ
ลม เป็นตัวเคลื่อนเข้า เคลื่อนออก
สัมผัสได้ดีที่สุด
.
แต่.. พอนั่งเฉยๆปุ๊บ มันไม่อยู่แค่กายทีนี่
มันไปเที่ยวอยู่ในอีก 3 ขันธ์ เห็นไหม
.
โดยเฉพาะความคิดเนี่ย
มันมันทำงานอยู่ตลอดเวลา
จึงพยายามบังคับจิต ให้มาตั้งอยู่ที่ลมให้ได้
การที่จะบังคับจิตให้มันมาจดจ่อ
อยู่ที่อารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง
คือ รูป คือลมหายใจเข้า หายใจออก
ที่เรียกว่ากายเนี่ย ยากมาก .. .
.
หายใจเข้าปื๊ดดดด มันคิดไปละ
แค่เผลอนิดเดียว มันคิดไปแล้ว
ยิ่งเวลาเคลิ้มๆทีนี่
ทำไปทำมาเริ่มเกิดความเคยชิน หลุด..
.
ไปเจออีกทีนึง นู่นมันคิดไปนู่นแระ
ส่วนใหญ่มันจะไปเที่ยวในอดีต
นี่เลย! ผู้ฝึกใหม่ๆเลย
จิตจะวิ่งไปเที่ยวในอดีตทั้งหมด
มันจะไปเที่ยวนู่นสมัยมันเด็ก
อย่างนั้น อย่างนี้ มันเคยทำอะไรไว้
มันจะไปเพลิดเพลินไปนู่น มันจะไปอย่างงั้น
.
ทีนี้พอเราดึงมันกลับมาปั๊บ
เริ่มหนักเข้า หนักเข้า ทำอย่างนี้บ่อยๆ
เริ่มจินตนาการ เริ่มด้นเริ่มเดา
คาดว่า หวังว่า ต้องเป็นอย่างนั้น
ต้องเป็นอย่างนี้ ไปในอนาคต
.
ในความคิดนี่จะประกอบไปด้วย 2 สิ่ง
กุศล กับ อกุศล .. คิดดีกับคิดไม่ดีเท่านั้น
คิดดีก็เป็นเวทนาฝ่ายบวก
คิดไม่ดีเป็นเวทนาฝ่ายลบ ใช่มั้ย.. .
.
ทำไมมันถึงคิดล่ะ เพราะมันต้องการอาหาร
จิ ต นี่ เ ส พ อ า ร ม ณ์
ถ้าไม่ได้มีอารมณ์ให้มันเสพอยู่นี่ มันอยู่ไม่ได้
มันต้องเสพอารมณ์ อาหารของจิตนี้คืออารมณ์
อาหารของกายนี่คือ ข้าวปลาอาหาร เรียกว่าธาตุ
แต่จิตนี้ เสพอารมณ์ เสพความพอใจความไม่พอใจ
.
ในเมื่ออาหารชั้นเลิศหาให้มันไม่ได้
มันก็ต้องเสพเรื่องของกาม
ต้องอาศัยการดูนั่นดูนี่ฟังนั่นฟังนี่
ไปเที่ยวนั่น เที่ยวนี่ มันถึงออกแสวงหาดิ้นรน
เพราะมันอยู่ไม่ได้ “มั น ทุ ก ข์”
.
เพราะจิตไม่มีสมาธิเป็นเครื่องอยู่
ไม่มีสมาธิเป็นอาหารของจิต
.
แต่ถ้าใครเข้าสู่สภาวะความสงบได้
นี่มันจะอยู่ มันจะพอ
จะอยู่เฉยๆ มันจะไม่อยากไปนั่นไม่อยากไปนี่
เฉยๆ อยู่ไหนก็อยู่ได้เขาเรียกว่าสงบ
“สงบจาก ตั ณ ห า” สงบจากความอยาก
.
เพราะจิตได้อาหาร คือ ความสงบนั้น
เป็นอาหารชั้นเลิศของจิต
จิตเกิดความพอใจ เกิดความอิ่มเอม
ความปิติ ความสุขจากความสงบนั้น
มันจึงไม่ต้องการสิ่งใด เขาเรียกว่า “พ อ”
.
ความคิดที่ไม่ได้เกิดบนฐานของสมาธิ
จะเป็นการปรุงแต่งทั้งหมด ปรุงแต่งหมด
จนกว่าจิตจะเข้าถึงสภาวะ
เขาเรียกว่าสมาธิ หรือ
“ค ว า ม ตั้ ง มั่ น”
ความรู้ของจิตจะ ปรากฏขึ้น
.
จะเรียนรู้สิ่งที่ปรากฏขึ้นตามความเป็นจริง
ไม่ได้ไปนั่งจินตนาการ ด้นเดาเอา
.
ผมเปรียบสมถะเหมือนน้ำที่มันนิ่ง
น้ำที่ไม่ที่ยังไม่นิ่งเนี่ย
เราจะไม่สามารถมองเห็นเงาในน้ำได้เลย
เราชะโงกหน้าลงไปในน้ำ
เราจะไม่สามารถเห็นเงาในน้ำได้ชัด
เพราะน้ำนั้นยังไม่นิ่ง
.
สมถะก็คือการทำน้ำนั้น ให้มันนิ่ง
คือ ทำจิตให้มัน ส ง บ
.
เพราะน้ำมันนิ่งมากเท่าไหร่
ยิ่งค่อยๆจะเริ่มเห็น “ความจริง”
ของเงาที่ปรากฎอยู่ในนั้น
ชัดขึ้นเรื่อยๆ ตามความสงบนั้น
.
ยิ่งสงบราบเรียบ เหมือนกระจก
เราจะเห็นหมดเลยว่า
ตาเราเป็นยังไง จมูกเราเป็นยังไง
หน้าตาเราเป็นยังไง
เห็นด้วย ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง
ไม่ต้องปรุงแต่ง
ไม่ต้องด้นเดาว่า
คาดว่า หวังว่า คิดว่า
.
นี่เขาเรียกว่า “เห็นตามความเป็นจริง”
.
ด้วยความละเอียด ด้วยความใสของน้ำ
เราจะสามารถมองทะลุลงไปในน้ำได้ว่า
ในน้ำนั้น มีอะไรอยู่บ้าง .. .
ตามลำดับขั้นของสติปัญญา
.
(บทความถอดจากไลฟ์สด #ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ 4 ก.ค. 65)
#วัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์
โดยธรรมชาติของเราเนี่ย
ผู้ที่ไม่เคยฝึกหัดการภาวนาเลย
มันจะคิดอยู่ตลอดเวลา ไม่เคยว่างเลย
ขนาดหลับมันก็ยังคิด
มันจะว่างเฉพาะตอนที่มันหลับสนิทเท่านั้น
เวลาหลับไม่ฝันนั่นแหละ
คือจิตคือจิตได้ว่าง ได้พักจริงๆ
.
แต่กี่วันล่ะ? จะเจอครั้งนึง นานๆทีได้เจอใช่ไหมล่ะ ?
ไม่ใช่ว่าเราจะหลับไม่ฝันตลอด
เวลาเราหลับไม่ฝัน ตื่นมานี่ สดชื่นมาก
รู้สึกว่ากระปรี้กระเปร่า มีกำลังมากนะ
เพราะจิตได้พักผ่อน กายพัก จิตพัก เขาเรียก
.
การปฏิบัติ(เมื่อก่อน) เลยมุ่งไปในทางที่
หยุดกระแสความคิดปรุงแต่งทั้งหมด แต่.. .
.
หลับตาลงนี่ เรากำหนดความรู้
มาจดจ่ออยู่ที่ลมหายใจ
ได้ไม่กี่ลมหรอก มันก็จะคิดไปอีกแล้ว
เราไม่เคยควบคุมกำกับความคิดตัวนี้ได้เลย
.
ทั้งที่เราก็ว่าเรารู้ธรรมะมาเยอะแล้ว
อ่านแล้วหมดแล้วศึกษากันหมดแล้ว
แต่เราไม่สามารถบังคับบัญชาการ
หยุดความคิดของตัวเองได้
.
ความคิดนี่ แยกเป็น 2 แบบ
หนึ่ง.. “เราคิด” คือเรามีเจตนาเป็นผู้คิด
ไอ้เจตนาเป็นผู้คิด คือ
คิดเหมือนคำพูดของเราเลย เช่น
เอาล่ะ! ต่อไปนี้ เราจะทำสมาธิมุ่งไปสู่ความสงบ
มันเหมือนกับเราพูดนี่แหละ
แต่ว่ามันไม่ได้พูดออกมา
มันพูดอยู่ในใจ นี่เรียกว่า “เ ร า คิ ด”
.
สอง.. “มันคิด” โดยที่เราไม่มีเจตนาร่วม
อ ยู่ ดี ๆ มั น ก็ ผุ ด ขึ้ น ม า
คิดเรื่องนั้นเรื่องนี้ขึ้นมา โดยที่เราไม่ได้ตั้งใจ
ไม่รู้ว่ามันผุดมาจากไหนด้วยซ้ำไป
นั่นคือ “มั น คิ ด”
.
ต้องเห็นอย่างนี้ ว่า
ความคิดมันมี 2 อย่าง
ไอ้ เ ร า คิ ด นี่.. ไม่มีปัญหา ทำให้เราเดือดร้อนไม่ได้
แต่ มั น คิ ด เนี่ย มันจะทำให้เราเดือดร้อน
อย่างน้อยๆนี่ ฟุ้ ง ซ่ า น เกิดความรำคาญ
เกิดความไม่สงบนี่คือ มันคิด เห็นไหม?
.
ทีนี้ ในเมื่อเรารู้แล้วว่า
ไอ้ความคิดทำให้จิตไม่สงบคือ
มันเกิดความฟุ้งซ่าน จิตมันทำงาน
มันจะวิ่งเที่ยวอยู่ในสัญญา อยู่ในสังขารตลอดเวลา
อย่าลืมว่าจิตตั้งอยู่ 4 อย่าง จะเที่ยวอยู่ในสี่ภพเท่านั้น
.
ที่เรียกว่า “ขันธ์”
รูป เวทนา สัญญา สังขาร
.
ไอ้ตัววิญญาณเนี่ย นามธรรม ที่เรียกว่าวิญญาณเนี่ย
จะเรียกว่าตัวธาตุรู้ก็ได้
หรือ เรียกว่ารู้ก็ได้ เรียกว่าจิตก็ได้
ต้องเข้าใจอย่างนี้นะ ตัววิญญาณนี่คือ
ตัวรับรู้ มันรับรู้ในขันธ์ทั้ง 4 นี้
.
ทำอย่างไรถึงจะบังคับตัวนี้
ตั้งอยู่เพียงแค่ขันธ์ใด ขันธ์หนึ่ง เท่านั้น
แล้วขันธ์ใดล่ะ ?
ที่จะไม่ไม่สร้างความเดือดร้อนให้
ก็คือ “ รู ป ” เท่านั้นเอง
.
ถ้าวิญญาณตั้งอยู่ในความคิดปั๊บ ฟุ้งไปเรื่อยเลย
กำกับบัญชาการความคิดไม่ได้ ฟุ้งไปหมด
.
ตั้งอยู่ในเวทนาก็เหมือนกัน
เมื่อวิญญาณตั้งอยู่ในเวทนา
เวทนามันไม่ปรากฏอยู่ตลอดเวลาเนี่ย
มันเปลี่ยนแปลง มันเคลื่อน
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เห็นไหม
เจ็บแล้วก็หายเจ็บ เดี๋ยวเจ็บ เดี๋ยวหาย
เดี๋ยวสุข เดี๋ยวทุกข์ เปลี่ยนแปลง
เดี๋ยวเฉยๆ มันเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
.
เพราะฉะนั้นถ้าจิตมันตั้งอยู่ที่เวทนานี้ก็ไม่เที่ยง
.
สัญญาทีเนี่ย เอ้า! ..
มันจะตั้งอยู่ในสัญญาเดียวได้ไหมจิตน่ะ
มันจะขุดสัญญาเก่าขึ้นมาคิด มาปรุงต่อ
เพราะมันทำงานเกื้อกูลกัน ระหว่างสัญญากับสังขาร
มันทำงานเกื้อกูลกันไปหมด
.
แค่เราบังคับคิดแค่คำบริกรรมยังทำได้ยากเลย
ในเมื่อ อยากคิด..
ให้คิดแต่คำบริกรรมคือ พุทกับโธ เท่านั้น
หายใจเข้าพุท หายใจออกโธ แค่เนี่ย
ทำได้ไหม ยาก!! เห็นไหม
.
เพราะของมันไม่เคยทำ ของมันไม่ชำนาญ
นี่แหละ จึงบังคับจิตให้มาตั้งอยู่ที่กายเท่านั้น
ที่เรียกว่า รูป
เอาวิญญาณตัวนั้นน่ะ ตัวรู้น่ะ
มาตั้งอยู่ที่กาย ตั้งอยู่ที่กายนี้
.
คำว่ากายนี่ คือ “ล ม”
ลมหายใจเข้า หายใจออก
นี่คือกาย เพราะมันสัมผัสต้องอยู่ที่กายเท่านั้น
.
ในเมื่อเรามานั่งนิ่งๆแล้ว ระงับการเคลื่อนไหว
ปิดอายตนะทั้งหมด ตาไม่เห็น หลับตา
นั่งในที่สงัด หูไม่ให้ได้ยินเสียง
เขาเรียกว่า ปิดการทำงานทั้งหมด
ไม่กินอะไร นั่งเฉยๆ แต่สิ่งที่มันเคลื่อนอยู่ทีนี้
มันจะมีอยู่อะไรที่มันเคลื่อน เอ้า.. .
ตัวกายที่มันเคลื่อนอยู่คืออะไรล่ะ
.
“ลมหายใจเข้า” “หายใจออก” เห็นไหม
.
มันเด่นที่สุดแล้ว เพราะสิ่งอื่นมันระงับหมดแล้ว
มันนั่งเฉยๆ มันไม่ได้ขยับ เราไม่ได้เดิน
แต่ถ้าเดินเมื่อไหร่ปุ๊บ การเดินจะเด่นกว่าลม
เวลาเดินจงกรมอย่างเงี้ย
ท่านถึงให้เอาความรู้ อยู่ที่การก้าวเดิน
ก็เป็นกายเหมือนกัน จิตตั้งอยู่ที่กายเหมือนกัน
.
แต่พอมานั่งอยู่เฉยๆปุ๊บ
ลม เป็นตัวเคลื่อนเข้า เคลื่อนออก
สัมผัสได้ดีที่สุด
.
แต่.. พอนั่งเฉยๆปุ๊บ มันไม่อยู่แค่กายทีนี่
มันไปเที่ยวอยู่ในอีก 3 ขันธ์ เห็นไหม
.
โดยเฉพาะความคิดเนี่ย
มันมันทำงานอยู่ตลอดเวลา
จึงพยายามบังคับจิต ให้มาตั้งอยู่ที่ลมให้ได้
การที่จะบังคับจิตให้มันมาจดจ่อ
อยู่ที่อารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง
คือ รูป คือลมหายใจเข้า หายใจออก
ที่เรียกว่ากายเนี่ย ยากมาก .. .
.
หายใจเข้าปื๊ดดดด มันคิดไปละ
แค่เผลอนิดเดียว มันคิดไปแล้ว
ยิ่งเวลาเคลิ้มๆทีนี่
ทำไปทำมาเริ่มเกิดความเคยชิน หลุด..
.
ไปเจออีกทีนึง นู่นมันคิดไปนู่นแระ
ส่วนใหญ่มันจะไปเที่ยวในอดีต
นี่เลย! ผู้ฝึกใหม่ๆเลย
จิตจะวิ่งไปเที่ยวในอดีตทั้งหมด
มันจะไปเที่ยวนู่นสมัยมันเด็ก
อย่างนั้น อย่างนี้ มันเคยทำอะไรไว้
มันจะไปเพลิดเพลินไปนู่น มันจะไปอย่างงั้น
.
ทีนี้พอเราดึงมันกลับมาปั๊บ
เริ่มหนักเข้า หนักเข้า ทำอย่างนี้บ่อยๆ
เริ่มจินตนาการ เริ่มด้นเริ่มเดา
คาดว่า หวังว่า ต้องเป็นอย่างนั้น
ต้องเป็นอย่างนี้ ไปในอนาคต
.
ในความคิดนี่จะประกอบไปด้วย 2 สิ่ง
กุศล กับ อกุศล .. คิดดีกับคิดไม่ดีเท่านั้น
คิดดีก็เป็นเวทนาฝ่ายบวก
คิดไม่ดีเป็นเวทนาฝ่ายลบ ใช่มั้ย.. .
.
ทำไมมันถึงคิดล่ะ เพราะมันต้องการอาหาร
จิ ต นี่ เ ส พ อ า ร ม ณ์
ถ้าไม่ได้มีอารมณ์ให้มันเสพอยู่นี่ มันอยู่ไม่ได้
มันต้องเสพอารมณ์ อาหารของจิตนี้คืออารมณ์
อาหารของกายนี่คือ ข้าวปลาอาหาร เรียกว่าธาตุ
แต่จิตนี้ เสพอารมณ์ เสพความพอใจความไม่พอใจ
.
ในเมื่ออาหารชั้นเลิศหาให้มันไม่ได้
มันก็ต้องเสพเรื่องของกาม
ต้องอาศัยการดูนั่นดูนี่ฟังนั่นฟังนี่
ไปเที่ยวนั่น เที่ยวนี่ มันถึงออกแสวงหาดิ้นรน
เพราะมันอยู่ไม่ได้ “มั น ทุ ก ข์”
.
เพราะจิตไม่มีสมาธิเป็นเครื่องอยู่
ไม่มีสมาธิเป็นอาหารของจิต
.
แต่ถ้าใครเข้าสู่สภาวะความสงบได้
นี่มันจะอยู่ มันจะพอ
จะอยู่เฉยๆ มันจะไม่อยากไปนั่นไม่อยากไปนี่
เฉยๆ อยู่ไหนก็อยู่ได้เขาเรียกว่าสงบ
“สงบจาก ตั ณ ห า” สงบจากความอยาก
.
เพราะจิตได้อาหาร คือ ความสงบนั้น
เป็นอาหารชั้นเลิศของจิต
จิตเกิดความพอใจ เกิดความอิ่มเอม
ความปิติ ความสุขจากความสงบนั้น
มันจึงไม่ต้องการสิ่งใด เขาเรียกว่า “พ อ”
.
ความคิดที่ไม่ได้เกิดบนฐานของสมาธิ
จะเป็นการปรุงแต่งทั้งหมด ปรุงแต่งหมด
จนกว่าจิตจะเข้าถึงสภาวะ
เขาเรียกว่าสมาธิ หรือ
“ค ว า ม ตั้ ง มั่ น”
ความรู้ของจิตจะ ปรากฏขึ้น
.
จะเรียนรู้สิ่งที่ปรากฏขึ้นตามความเป็นจริง
ไม่ได้ไปนั่งจินตนาการ ด้นเดาเอา
.
ผมเปรียบสมถะเหมือนน้ำที่มันนิ่ง
น้ำที่ไม่ที่ยังไม่นิ่งเนี่ย
เราจะไม่สามารถมองเห็นเงาในน้ำได้เลย
เราชะโงกหน้าลงไปในน้ำ
เราจะไม่สามารถเห็นเงาในน้ำได้ชัด
เพราะน้ำนั้นยังไม่นิ่ง
.
สมถะก็คือการทำน้ำนั้น ให้มันนิ่ง
คือ ทำจิตให้มัน ส ง บ
.
เพราะน้ำมันนิ่งมากเท่าไหร่
ยิ่งค่อยๆจะเริ่มเห็น “ความจริง”
ของเงาที่ปรากฎอยู่ในนั้น
ชัดขึ้นเรื่อยๆ ตามความสงบนั้น
.
ยิ่งสงบราบเรียบ เหมือนกระจก
เราจะเห็นหมดเลยว่า
ตาเราเป็นยังไง จมูกเราเป็นยังไง
หน้าตาเราเป็นยังไง
เห็นด้วย ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง
ไม่ต้องปรุงแต่ง
ไม่ต้องด้นเดาว่า
คาดว่า หวังว่า คิดว่า
.
นี่เขาเรียกว่า “เห็นตามความเป็นจริง”
.
ด้วยความละเอียด ด้วยความใสของน้ำ
เราจะสามารถมองทะลุลงไปในน้ำได้ว่า
ในน้ำนั้น มีอะไรอยู่บ้าง .. .
ตามลำดับขั้นของสติปัญญา
.
(บทความถอดจากไลฟ์สด #ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ 4 ก.ค. 65)
#วัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์
โดยธรรมชาติของเราเนี่ย
ผู้ที่ไม่เคยฝึกหัดการภาวนาเลย
มันจะคิดอยู่ตลอดเวลา ไม่เคยว่างเลย
ขนาดหลับมันก็ยังคิด
มันจะว่างเฉพาะตอนที่มันหลับสนิทเท่านั้น
เวลาหลับไม่ฝันนั่นแหละ
คือจิตคือจิตได้ว่าง ได้พักจริงๆ
.
แต่กี่วันล่ะ? จะเจอครั้งนึง นานๆทีได้เจอใช่ไหมล่ะ ?
ไม่ใช่ว่าเราจะหลับไม่ฝันตลอด
เวลาเราหลับไม่ฝัน ตื่นมานี่ สดชื่นมาก
รู้สึกว่ากระปรี้กระเปร่า มีกำลังมากนะ
เพราะจิตได้พักผ่อน กายพัก จิตพัก เขาเรียก
.
การปฏิบัติ(เมื่อก่อน) เลยมุ่งไปในทางที่
หยุดกระแสความคิดปรุงแต่งทั้งหมด แต่.. .
.
หลับตาลงนี่ เรากำหนดความรู้
มาจดจ่ออยู่ที่ลมหายใจ
ได้ไม่กี่ลมหรอก มันก็จะคิดไปอีกแล้ว
เราไม่เคยควบคุมกำกับความคิดตัวนี้ได้เลย
.
ทั้งที่เราก็ว่าเรารู้ธรรมะมาเยอะแล้ว
อ่านแล้วหมดแล้วศึกษากันหมดแล้ว
แต่เราไม่สามารถบังคับบัญชาการ
หยุดความคิดของตัวเองได้
.
ความคิดนี่ แยกเป็น 2 แบบ
หนึ่ง.. “เราคิด” คือเรามีเจตนาเป็นผู้คิด
ไอ้เจตนาเป็นผู้คิด คือ
คิดเหมือนคำพูดของเราเลย เช่น
เอาล่ะ! ต่อไปนี้ เราจะทำสมาธิมุ่งไปสู่ความสงบ
มันเหมือนกับเราพูดนี่แหละ
แต่ว่ามันไม่ได้พูดออกมา
มันพูดอยู่ในใจ นี่เรียกว่า “เ ร า คิ ด”
.
สอง.. “มันคิด” โดยที่เราไม่มีเจตนาร่วม
อ ยู่ ดี ๆ มั น ก็ ผุ ด ขึ้ น ม า
คิดเรื่องนั้นเรื่องนี้ขึ้นมา โดยที่เราไม่ได้ตั้งใจ
ไม่รู้ว่ามันผุดมาจากไหนด้วยซ้ำไป
นั่นคือ “มั น คิ ด”
.
ต้องเห็นอย่างนี้ ว่า
ความคิดมันมี 2 อย่าง
ไอ้ เ ร า คิ ด นี่.. ไม่มีปัญหา ทำให้เราเดือดร้อนไม่ได้
แต่ มั น คิ ด เนี่ย มันจะทำให้เราเดือดร้อน
อย่างน้อยๆนี่ ฟุ้ ง ซ่ า น เกิดความรำคาญ
เกิดความไม่สงบนี่คือ มันคิด เห็นไหม?
.
ทีนี้ ในเมื่อเรารู้แล้วว่า
ไอ้ความคิดทำให้จิตไม่สงบคือ
มันเกิดความฟุ้งซ่าน จิตมันทำงาน
มันจะวิ่งเที่ยวอยู่ในสัญญา อยู่ในสังขารตลอดเวลา
อย่าลืมว่าจิตตั้งอยู่ 4 อย่าง จะเที่ยวอยู่ในสี่ภพเท่านั้น
.
ที่เรียกว่า “ขันธ์”
รูป เวทนา สัญญา สังขาร
.
ไอ้ตัววิญญาณเนี่ย นามธรรม ที่เรียกว่าวิญญาณเนี่ย
จะเรียกว่าตัวธาตุรู้ก็ได้
หรือ เรียกว่ารู้ก็ได้ เรียกว่าจิตก็ได้
ต้องเข้าใจอย่างนี้นะ ตัววิญญาณนี่คือ
ตัวรับรู้ มันรับรู้ในขันธ์ทั้ง 4 นี้
.
ทำอย่างไรถึงจะบังคับตัวนี้
ตั้งอยู่เพียงแค่ขันธ์ใด ขันธ์หนึ่ง เท่านั้น
แล้วขันธ์ใดล่ะ ?
ที่จะไม่ไม่สร้างความเดือดร้อนให้
ก็คือ “ รู ป ” เท่านั้นเอง
.
ถ้าวิญญาณตั้งอยู่ในความคิดปั๊บ ฟุ้งไปเรื่อยเลย
กำกับบัญชาการความคิดไม่ได้ ฟุ้งไปหมด
.
ตั้งอยู่ในเวทนาก็เหมือนกัน
เมื่อวิญญาณตั้งอยู่ในเวทนา
เวทนามันไม่ปรากฏอยู่ตลอดเวลาเนี่ย
มันเปลี่ยนแปลง มันเคลื่อน
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เห็นไหม
เจ็บแล้วก็หายเจ็บ เดี๋ยวเจ็บ เดี๋ยวหาย
เดี๋ยวสุข เดี๋ยวทุกข์ เปลี่ยนแปลง
เดี๋ยวเฉยๆ มันเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
.
เพราะฉะนั้นถ้าจิตมันตั้งอยู่ที่เวทนานี้ก็ไม่เที่ยง
.
สัญญาทีเนี่ย เอ้า! ..
มันจะตั้งอยู่ในสัญญาเดียวได้ไหมจิตน่ะ
มันจะขุดสัญญาเก่าขึ้นมาคิด มาปรุงต่อ
เพราะมันทำงานเกื้อกูลกัน ระหว่างสัญญากับสังขาร
มันทำงานเกื้อกูลกันไปหมด
.
แค่เราบังคับคิดแค่คำบริกรรมยังทำได้ยากเลย
ในเมื่อ อยากคิด..
ให้คิดแต่คำบริกรรมคือ พุทกับโธ เท่านั้น
หายใจเข้าพุท หายใจออกโธ แค่เนี่ย
ทำได้ไหม ยาก!! เห็นไหม
.
เพราะของมันไม่เคยทำ ของมันไม่ชำนาญ
นี่แหละ จึงบังคับจิตให้มาตั้งอยู่ที่กายเท่านั้น
ที่เรียกว่า รูป
เอาวิญญาณตัวนั้นน่ะ ตัวรู้น่ะ
มาตั้งอยู่ที่กาย ตั้งอยู่ที่กายนี้
.
คำว่ากายนี่ คือ “ล ม”
ลมหายใจเข้า หายใจออก
นี่คือกาย เพราะมันสัมผัสต้องอยู่ที่กายเท่านั้น
.
ในเมื่อเรามานั่งนิ่งๆแล้ว ระงับการเคลื่อนไหว
ปิดอายตนะทั้งหมด ตาไม่เห็น หลับตา
นั่งในที่สงัด หูไม่ให้ได้ยินเสียง
เขาเรียกว่า ปิดการทำงานทั้งหมด
ไม่กินอะไร นั่งเฉยๆ แต่สิ่งที่มันเคลื่อนอยู่ทีนี้
มันจะมีอยู่อะไรที่มันเคลื่อน เอ้า.. .
ตัวกายที่มันเคลื่อนอยู่คืออะไรล่ะ
.
“ลมหายใจเข้า” “หายใจออก” เห็นไหม
.
มันเด่นที่สุดแล้ว เพราะสิ่งอื่นมันระงับหมดแล้ว
มันนั่งเฉยๆ มันไม่ได้ขยับ เราไม่ได้เดิน
แต่ถ้าเดินเมื่อไหร่ปุ๊บ การเดินจะเด่นกว่าลม
เวลาเดินจงกรมอย่างเงี้ย
ท่านถึงให้เอาความรู้ อยู่ที่การก้าวเดิน
ก็เป็นกายเหมือนกัน จิตตั้งอยู่ที่กายเหมือนกัน
.
แต่พอมานั่งอยู่เฉยๆปุ๊บ
ลม เป็นตัวเคลื่อนเข้า เคลื่อนออก
สัมผัสได้ดีที่สุด
.
แต่.. พอนั่งเฉยๆปุ๊บ มันไม่อยู่แค่กายทีนี่
มันไปเที่ยวอยู่ในอีก 3 ขันธ์ เห็นไหม
.
โดยเฉพาะความคิดเนี่ย
มันมันทำงานอยู่ตลอดเวลา
จึงพยายามบังคับจิต ให้มาตั้งอยู่ที่ลมให้ได้
การที่จะบังคับจิตให้มันมาจดจ่อ
อยู่ที่อารมณ์ใด อารมณ์หนึ่ง
คือ รูป คือลมหายใจเข้า หายใจออก
ที่เรียกว่ากายเนี่ย ยากมาก .. .
.
หายใจเข้าปื๊ดดดด มันคิดไปละ
แค่เผลอนิดเดียว มันคิดไปแล้ว
ยิ่งเวลาเคลิ้มๆทีนี่
ทำไปทำมาเริ่มเกิดความเคยชิน หลุด..
.
ไปเจออีกทีนึง นู่นมันคิดไปนู่นแระ
ส่วนใหญ่มันจะไปเที่ยวในอดีต
นี่เลย! ผู้ฝึกใหม่ๆเลย
จิตจะวิ่งไปเที่ยวในอดีตทั้งหมด
มันจะไปเที่ยวนู่นสมัยมันเด็ก
อย่างนั้น อย่างนี้ มันเคยทำอะไรไว้
มันจะไปเพลิดเพลินไปนู่น มันจะไปอย่างงั้น
.
ทีนี้พอเราดึงมันกลับมาปั๊บ
เริ่มหนักเข้า หนักเข้า ทำอย่างนี้บ่อยๆ
เริ่มจินตนาการ เริ่มด้นเริ่มเดา
คาดว่า หวังว่า ต้องเป็นอย่างนั้น
ต้องเป็นอย่างนี้ ไปในอนาคต
.
ในความคิดนี่จะประกอบไปด้วย 2 สิ่ง
กุศล กับ อกุศล .. คิดดีกับคิดไม่ดีเท่านั้น
คิดดีก็เป็นเวทนาฝ่ายบวก
คิดไม่ดีเป็นเวทนาฝ่ายลบ ใช่มั้ย.. .
.
ทำไมมันถึงคิดล่ะ เพราะมันต้องการอาหาร
จิ ต นี่ เ ส พ อ า ร ม ณ์
ถ้าไม่ได้มีอารมณ์ให้มันเสพอยู่นี่ มันอยู่ไม่ได้
มันต้องเสพอารมณ์ อาหารของจิตนี้คืออารมณ์
อาหารของกายนี่คือ ข้าวปลาอาหาร เรียกว่าธาตุ
แต่จิตนี้ เสพอารมณ์ เสพความพอใจความไม่พอใจ
.
ในเมื่ออาหารชั้นเลิศหาให้มันไม่ได้
มันก็ต้องเสพเรื่องของกาม
ต้องอาศัยการดูนั่นดูนี่ฟังนั่นฟังนี่
ไปเที่ยวนั่น เที่ยวนี่ มันถึงออกแสวงหาดิ้นรน
เพราะมันอยู่ไม่ได้ “มั น ทุ ก ข์”
.
เพราะจิตไม่มีสมาธิเป็นเครื่องอยู่
ไม่มีสมาธิเป็นอาหารของจิต
.
แต่ถ้าใครเข้าสู่สภาวะความสงบได้
นี่มันจะอยู่ มันจะพอ
จะอยู่เฉยๆ มันจะไม่อยากไปนั่นไม่อยากไปนี่
เฉยๆ อยู่ไหนก็อยู่ได้เขาเรียกว่าสงบ
“สงบจาก ตั ณ ห า” สงบจากความอยาก
.
เพราะจิตได้อาหาร คือ ความสงบนั้น
เป็นอาหารชั้นเลิศของจิต
จิตเกิดความพอใจ เกิดความอิ่มเอม
ความปิติ ความสุขจากความสงบนั้น
มันจึงไม่ต้องการสิ่งใด เขาเรียกว่า “พ อ”
.
ความคิดที่ไม่ได้เกิดบนฐานของสมาธิ
จะเป็นการปรุงแต่งทั้งหมด ปรุงแต่งหมด
จนกว่าจิตจะเข้าถึงสภาวะ
เขาเรียกว่าสมาธิ หรือ
“ค ว า ม ตั้ ง มั่ น”
ความรู้ของจิตจะ ปรากฏขึ้น
.
จะเรียนรู้สิ่งที่ปรากฏขึ้นตามความเป็นจริง
ไม่ได้ไปนั่งจินตนาการ ด้นเดาเอา
.
ผมเปรียบสมถะเหมือนน้ำที่มันนิ่ง
น้ำที่ไม่ที่ยังไม่นิ่งเนี่ย
เราจะไม่สามารถมองเห็นเงาในน้ำได้เลย
เราชะโงกหน้าลงไปในน้ำ
เราจะไม่สามารถเห็นเงาในน้ำได้ชัด
เพราะน้ำนั้นยังไม่นิ่ง
.
สมถะก็คือการทำน้ำนั้น ให้มันนิ่ง
คือ ทำจิตให้มัน ส ง บ
.
เพราะน้ำมันนิ่งมากเท่าไหร่
ยิ่งค่อยๆจะเริ่มเห็น “ความจริง”
ของเงาที่ปรากฎอยู่ในนั้น
ชัดขึ้นเรื่อยๆ ตามความสงบนั้น
.
ยิ่งสงบราบเรียบ เหมือนกระจก
เราจะเห็นหมดเลยว่า
ตาเราเป็นยังไง จมูกเราเป็นยังไง
หน้าตาเราเป็นยังไง
เห็นด้วย ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง
ไม่ต้องปรุงแต่ง
ไม่ต้องด้นเดาว่า
คาดว่า หวังว่า คิดว่า
.
นี่เขาเรียกว่า “เห็นตามความเป็นจริง”
.
ด้วยความละเอียด ด้วยความใสของน้ำ
เราจะสามารถมองทะลุลงไปในน้ำได้ว่า
ในน้ำนั้น มีอะไรอยู่บ้าง .. .
ตามลำดับขั้นของสติปัญญา
.
(บทความถอดจากไลฟ์สด #ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ 4 ก.ค. 65)
#วัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์
ครูบาฉ่าย
วัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์
ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ แห่งวัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์ ธรรมมะที่ดุดัน ชัดแจ้ง เป็นไปเพื่อความหลุดพ้นอย่างแท้จริง
ครูบาฉ่าย
วัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์
ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ แห่งวัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์ ธรรมมะที่ดุดัน ชัดแจ้ง เป็นไปเพื่อความหลุดพ้นอย่างแท้จริง
ครูบาฉ่าย
วัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์
ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ แห่งวัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์ ธรรมมะที่ดุดัน ชัดแจ้ง เป็นไปเพื่อความหลุดพ้นอย่างแท้จริง
ครูบาฉ่าย
วัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์
ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ แห่งวัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์ ธรรมมะที่ดุดัน ชัดแจ้ง เป็นไปเพื่อความหลุดพ้นอย่างแท้จริง
ธรรมมะจากผู้บรรยายเดียวกัน
ครูบาฉ่าย
อย่าหาโทษใส่ตัวเอง
ข้อธรรมคําสอน
ครูบาฉ่าย
อย่าหาโทษใส่ตัวเอง
ข้อธรรมคําสอน
ครูบาฉ่าย
อย่าหาโทษใส่ตัวเอง
ข้อธรรมคําสอน
ครูบาฉ่าย
ใจที่ตั้งมั่น
ข้อธรรมคําสอน
ครูบาฉ่าย
ใจที่ตั้งมั่น
ข้อธรรมคําสอน
ครูบาฉ่าย
ใจที่ตั้งมั่น
ข้อธรรมคําสอน
ครูบาฉ่าย
มายาของจิต กว้างใหญ่ดั่งจักรวาล
บทบรรยาย
ครูบาฉ่าย
มายาของจิต กว้างใหญ่ดั่งจักรวาล
บทบรรยาย
ครูบาฉ่าย
มายาของจิต กว้างใหญ่ดั่งจักรวาล
บทบรรยาย
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com