อานาปานสติ กับ สมถะ ต่างกันอย่างไร?
ครูบาฉ่าย
บทบรรยาย
ครูบาฉ่าย
บทบรรยาย
ครูบาฉ่าย
บทบรรยาย
ครูบาฉ่าย
บทบรรยาย
แบบไหนถึงเรียกว่า อานาปานสติ แบบไหนถึงเรียกว่า เพ่ง (สมถะ)
สมถะ คำว่าสมถะตัวนี้ ถ้าเราฝึกในรูปแบบที่เราได้ยินได้ฟังมา
พอหลับตาลงไปท่านจะใช้สายตามาเพ่งที่ปลายจมูก และเกิดความรังเกียจในความคิดนึก
ถ้ามีความรู้สึกประเภทนี้ นั่นท่านกำลังฝึก “สมถะ”
.
ใจจะมุ่งไปสู่ความสงบ จะไม่เอาความคิดเลย จะรำคาญซึ่งความคิด
แล้วถ้าความคิดเกิด ท่านจะทรมานอย่างมากว่า ทำไมมันไม่สงบ
.
ฝ่ายของสมถะ ท่านจะใช้สายตาในการเพ่งจุดใดจุดหนึ่ง
มันจะเกิดว่า นี่..จิตอยู่จุดนี้ อยู่อุณาโลมมั่ง อยู่อกมั่ง อยู่นั่น อยู่นี่
เพราะว่าท่าน ใช้สายตาในการเพ่ง
.
บางคนก็เพ่งไปที่จุดอุณาโลม ระหว่างคิ้ว ท่านจะรู้สึกปวดตา ปวดหัว ตึงไปหมด
นั่นเป็นวิธีฝึกแบบ ส ม ถ ะ ทั้งหมด
ท่านจะใช้สายตาในการเพ่งที่ปลายจมูกก็เป็นสมถะทั้งหมด
.
เพียงแค่ท่านพลิกนิดเดียวเท่านั้น.. . ไ ม่ ใ ช้ สายตาในการเพ่งลม
ตาท่านก็หลับไป ธรรมดาปกติ แต่ใช้ความรู้สึกสัมผัสกับลม
เหมือนกับที่ท่านกำลังลืมตาอยู่ตอนนี้
ถ้าท่านลืมตาขึ้นมา แล้วท่านดูลมเข้า ลมออก ท่านจะรู้สึกไม่เพ่ง ถูกไหม..
.
ไม่ได้ใช้การเพ่ง ไม่ได้ใช้สายตามาเพ่งที่ปลายจมูก แต่..
“รู้ สึ ก ว่ า ล ม เ ข้ า รู้ สึ ก ว่ า ล ม อ อ ก”
นี่คือวิธีปฏิบัติ “อานาปานสติ” (ฟังให้ดีนะ..)
.
จะไม่ได้เพ่งนะ! ถ้าเพ่งเมื่อไหร่จะเป็นการปฏิบัติสมถะเข้าสู่ฌานเท่านั้น
เพราะการเพ่งนี้จะเกิดมโนภาพต่างๆมากมาย เพราะตาท่านจะเปลี่ยนยุกยิกๆ
มันจะวิ่งจับแสงนั่นแสงนี่ หลับตาลงไปเห็นสีดำ แทนที่จะอยู่กับลม มันไม่อยู่
.
มันไปอยู่กับแสงที่อยู่ในตานี่ แม้แต่ไอ้สีดำ ที่ตามันปิดลงมานี่ มันมืด มันก็ไม่ได้มืดดำสนิท
บางทีก็เกิดเขียวในดำ แดงในดำ ส้มในดำ ขาวในดำ เป็นแสงเหมือนหิ่งห้อยยิบยับๆ อย่างงั้น อย่างงี้
ท่านจะเห็น บางทีมันก็หมุนวน วูบๆๆ ลักษณะเหมือนมันหมุนอยู่ในตาเรา
เป็นเหมือนอะไรดูด เป็นคลื่นพลังงาน มันจะไปอย่างงั้น
“สิ่งเหล่านี้จะ ห ล อ ก ล่ อ ท่านออกจากลมทั้งหมด”
.
เพราะท่านใช้สายตา คือ ความรู้ท่านมาอยู่กับตาหมดแล้ว เห็นไหม..
สังเกตดีๆนะ มันจะออกไปทางนั้น
แต่ถ้ามันจะเป็นอะไรเป็นไปในตานี้ ช่างมัน.. .
แต่ ความรู้สึกนี่ “รู้ว่าลมเข้า รู้ว่าลมออก"
.
ไม่ได้เพ่ง! ไม่ได้เพ่งในลม
แต่ รู้ สึ ก ใ น ล ม
รู้สึกกับลมหายใจนั้น เหมือนประหนึ่งว่า ความรู้กับลมนั้นเป็นหนึ่งเดียว
ไม่ได้แยกจากกัน มันพลิกอยู่แค่นี้เอง นิดเดียวเท่านั้น
.
และการปฏิบัติชนิดนี้ จะไม่รังเกียจความคิด
จะเห็นว่าความคิดก็เป็นสิ่งๆหนึ่งที่มันเกิดขึ้น ไม่ได้รำคาญเลย
เราไม่ได้รำคาญเสียงเลย เพราะมันเป็นธรรมดา
เป็นผู้ เ รี ย น รู้ ทุกสภาวะ.. อยู่ บ น ล ม หายใจ
ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ
.
(ถอดบทความจากไลฟ์สด เช้า 04.00 น. วันที่ 25/06/66)
แบบไหนถึงเรียกว่า อานาปานสติ แบบไหนถึงเรียกว่า เพ่ง (สมถะ)
สมถะ คำว่าสมถะตัวนี้ ถ้าเราฝึกในรูปแบบที่เราได้ยินได้ฟังมา
พอหลับตาลงไปท่านจะใช้สายตามาเพ่งที่ปลายจมูก และเกิดความรังเกียจในความคิดนึก
ถ้ามีความรู้สึกประเภทนี้ นั่นท่านกำลังฝึก “สมถะ”
.
ใจจะมุ่งไปสู่ความสงบ จะไม่เอาความคิดเลย จะรำคาญซึ่งความคิด
แล้วถ้าความคิดเกิด ท่านจะทรมานอย่างมากว่า ทำไมมันไม่สงบ
.
ฝ่ายของสมถะ ท่านจะใช้สายตาในการเพ่งจุดใดจุดหนึ่ง
มันจะเกิดว่า นี่..จิตอยู่จุดนี้ อยู่อุณาโลมมั่ง อยู่อกมั่ง อยู่นั่น อยู่นี่
เพราะว่าท่าน ใช้สายตาในการเพ่ง
.
บางคนก็เพ่งไปที่จุดอุณาโลม ระหว่างคิ้ว ท่านจะรู้สึกปวดตา ปวดหัว ตึงไปหมด
นั่นเป็นวิธีฝึกแบบ ส ม ถ ะ ทั้งหมด
ท่านจะใช้สายตาในการเพ่งที่ปลายจมูกก็เป็นสมถะทั้งหมด
.
เพียงแค่ท่านพลิกนิดเดียวเท่านั้น.. . ไ ม่ ใ ช้ สายตาในการเพ่งลม
ตาท่านก็หลับไป ธรรมดาปกติ แต่ใช้ความรู้สึกสัมผัสกับลม
เหมือนกับที่ท่านกำลังลืมตาอยู่ตอนนี้
ถ้าท่านลืมตาขึ้นมา แล้วท่านดูลมเข้า ลมออก ท่านจะรู้สึกไม่เพ่ง ถูกไหม..
.
ไม่ได้ใช้การเพ่ง ไม่ได้ใช้สายตามาเพ่งที่ปลายจมูก แต่..
“รู้ สึ ก ว่ า ล ม เ ข้ า รู้ สึ ก ว่ า ล ม อ อ ก”
นี่คือวิธีปฏิบัติ “อานาปานสติ” (ฟังให้ดีนะ..)
.
จะไม่ได้เพ่งนะ! ถ้าเพ่งเมื่อไหร่จะเป็นการปฏิบัติสมถะเข้าสู่ฌานเท่านั้น
เพราะการเพ่งนี้จะเกิดมโนภาพต่างๆมากมาย เพราะตาท่านจะเปลี่ยนยุกยิกๆ
มันจะวิ่งจับแสงนั่นแสงนี่ หลับตาลงไปเห็นสีดำ แทนที่จะอยู่กับลม มันไม่อยู่
.
มันไปอยู่กับแสงที่อยู่ในตานี่ แม้แต่ไอ้สีดำ ที่ตามันปิดลงมานี่ มันมืด มันก็ไม่ได้มืดดำสนิท
บางทีก็เกิดเขียวในดำ แดงในดำ ส้มในดำ ขาวในดำ เป็นแสงเหมือนหิ่งห้อยยิบยับๆ อย่างงั้น อย่างงี้
ท่านจะเห็น บางทีมันก็หมุนวน วูบๆๆ ลักษณะเหมือนมันหมุนอยู่ในตาเรา
เป็นเหมือนอะไรดูด เป็นคลื่นพลังงาน มันจะไปอย่างงั้น
“สิ่งเหล่านี้จะ ห ล อ ก ล่ อ ท่านออกจากลมทั้งหมด”
.
เพราะท่านใช้สายตา คือ ความรู้ท่านมาอยู่กับตาหมดแล้ว เห็นไหม..
สังเกตดีๆนะ มันจะออกไปทางนั้น
แต่ถ้ามันจะเป็นอะไรเป็นไปในตานี้ ช่างมัน.. .
แต่ ความรู้สึกนี่ “รู้ว่าลมเข้า รู้ว่าลมออก"
.
ไม่ได้เพ่ง! ไม่ได้เพ่งในลม
แต่ รู้ สึ ก ใ น ล ม
รู้สึกกับลมหายใจนั้น เหมือนประหนึ่งว่า ความรู้กับลมนั้นเป็นหนึ่งเดียว
ไม่ได้แยกจากกัน มันพลิกอยู่แค่นี้เอง นิดเดียวเท่านั้น
.
และการปฏิบัติชนิดนี้ จะไม่รังเกียจความคิด
จะเห็นว่าความคิดก็เป็นสิ่งๆหนึ่งที่มันเกิดขึ้น ไม่ได้รำคาญเลย
เราไม่ได้รำคาญเสียงเลย เพราะมันเป็นธรรมดา
เป็นผู้ เ รี ย น รู้ ทุกสภาวะ.. อยู่ บ น ล ม หายใจ
ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ
.
(ถอดบทความจากไลฟ์สด เช้า 04.00 น. วันที่ 25/06/66)
แบบไหนถึงเรียกว่า อานาปานสติ แบบไหนถึงเรียกว่า เพ่ง (สมถะ)
สมถะ คำว่าสมถะตัวนี้ ถ้าเราฝึกในรูปแบบที่เราได้ยินได้ฟังมา
พอหลับตาลงไปท่านจะใช้สายตามาเพ่งที่ปลายจมูก และเกิดความรังเกียจในความคิดนึก
ถ้ามีความรู้สึกประเภทนี้ นั่นท่านกำลังฝึก “สมถะ”
.
ใจจะมุ่งไปสู่ความสงบ จะไม่เอาความคิดเลย จะรำคาญซึ่งความคิด
แล้วถ้าความคิดเกิด ท่านจะทรมานอย่างมากว่า ทำไมมันไม่สงบ
.
ฝ่ายของสมถะ ท่านจะใช้สายตาในการเพ่งจุดใดจุดหนึ่ง
มันจะเกิดว่า นี่..จิตอยู่จุดนี้ อยู่อุณาโลมมั่ง อยู่อกมั่ง อยู่นั่น อยู่นี่
เพราะว่าท่าน ใช้สายตาในการเพ่ง
.
บางคนก็เพ่งไปที่จุดอุณาโลม ระหว่างคิ้ว ท่านจะรู้สึกปวดตา ปวดหัว ตึงไปหมด
นั่นเป็นวิธีฝึกแบบ ส ม ถ ะ ทั้งหมด
ท่านจะใช้สายตาในการเพ่งที่ปลายจมูกก็เป็นสมถะทั้งหมด
.
เพียงแค่ท่านพลิกนิดเดียวเท่านั้น.. . ไ ม่ ใ ช้ สายตาในการเพ่งลม
ตาท่านก็หลับไป ธรรมดาปกติ แต่ใช้ความรู้สึกสัมผัสกับลม
เหมือนกับที่ท่านกำลังลืมตาอยู่ตอนนี้
ถ้าท่านลืมตาขึ้นมา แล้วท่านดูลมเข้า ลมออก ท่านจะรู้สึกไม่เพ่ง ถูกไหม..
.
ไม่ได้ใช้การเพ่ง ไม่ได้ใช้สายตามาเพ่งที่ปลายจมูก แต่..
“รู้ สึ ก ว่ า ล ม เ ข้ า รู้ สึ ก ว่ า ล ม อ อ ก”
นี่คือวิธีปฏิบัติ “อานาปานสติ” (ฟังให้ดีนะ..)
.
จะไม่ได้เพ่งนะ! ถ้าเพ่งเมื่อไหร่จะเป็นการปฏิบัติสมถะเข้าสู่ฌานเท่านั้น
เพราะการเพ่งนี้จะเกิดมโนภาพต่างๆมากมาย เพราะตาท่านจะเปลี่ยนยุกยิกๆ
มันจะวิ่งจับแสงนั่นแสงนี่ หลับตาลงไปเห็นสีดำ แทนที่จะอยู่กับลม มันไม่อยู่
.
มันไปอยู่กับแสงที่อยู่ในตานี่ แม้แต่ไอ้สีดำ ที่ตามันปิดลงมานี่ มันมืด มันก็ไม่ได้มืดดำสนิท
บางทีก็เกิดเขียวในดำ แดงในดำ ส้มในดำ ขาวในดำ เป็นแสงเหมือนหิ่งห้อยยิบยับๆ อย่างงั้น อย่างงี้
ท่านจะเห็น บางทีมันก็หมุนวน วูบๆๆ ลักษณะเหมือนมันหมุนอยู่ในตาเรา
เป็นเหมือนอะไรดูด เป็นคลื่นพลังงาน มันจะไปอย่างงั้น
“สิ่งเหล่านี้จะ ห ล อ ก ล่ อ ท่านออกจากลมทั้งหมด”
.
เพราะท่านใช้สายตา คือ ความรู้ท่านมาอยู่กับตาหมดแล้ว เห็นไหม..
สังเกตดีๆนะ มันจะออกไปทางนั้น
แต่ถ้ามันจะเป็นอะไรเป็นไปในตานี้ ช่างมัน.. .
แต่ ความรู้สึกนี่ “รู้ว่าลมเข้า รู้ว่าลมออก"
.
ไม่ได้เพ่ง! ไม่ได้เพ่งในลม
แต่ รู้ สึ ก ใ น ล ม
รู้สึกกับลมหายใจนั้น เหมือนประหนึ่งว่า ความรู้กับลมนั้นเป็นหนึ่งเดียว
ไม่ได้แยกจากกัน มันพลิกอยู่แค่นี้เอง นิดเดียวเท่านั้น
.
และการปฏิบัติชนิดนี้ จะไม่รังเกียจความคิด
จะเห็นว่าความคิดก็เป็นสิ่งๆหนึ่งที่มันเกิดขึ้น ไม่ได้รำคาญเลย
เราไม่ได้รำคาญเสียงเลย เพราะมันเป็นธรรมดา
เป็นผู้ เ รี ย น รู้ ทุกสภาวะ.. อยู่ บ น ล ม หายใจ
ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ
.
(ถอดบทความจากไลฟ์สด เช้า 04.00 น. วันที่ 25/06/66)
แบบไหนถึงเรียกว่า อานาปานสติ แบบไหนถึงเรียกว่า เพ่ง (สมถะ)
สมถะ คำว่าสมถะตัวนี้ ถ้าเราฝึกในรูปแบบที่เราได้ยินได้ฟังมา
พอหลับตาลงไปท่านจะใช้สายตามาเพ่งที่ปลายจมูก และเกิดความรังเกียจในความคิดนึก
ถ้ามีความรู้สึกประเภทนี้ นั่นท่านกำลังฝึก “สมถะ”
.
ใจจะมุ่งไปสู่ความสงบ จะไม่เอาความคิดเลย จะรำคาญซึ่งความคิด
แล้วถ้าความคิดเกิด ท่านจะทรมานอย่างมากว่า ทำไมมันไม่สงบ
.
ฝ่ายของสมถะ ท่านจะใช้สายตาในการเพ่งจุดใดจุดหนึ่ง
มันจะเกิดว่า นี่..จิตอยู่จุดนี้ อยู่อุณาโลมมั่ง อยู่อกมั่ง อยู่นั่น อยู่นี่
เพราะว่าท่าน ใช้สายตาในการเพ่ง
.
บางคนก็เพ่งไปที่จุดอุณาโลม ระหว่างคิ้ว ท่านจะรู้สึกปวดตา ปวดหัว ตึงไปหมด
นั่นเป็นวิธีฝึกแบบ ส ม ถ ะ ทั้งหมด
ท่านจะใช้สายตาในการเพ่งที่ปลายจมูกก็เป็นสมถะทั้งหมด
.
เพียงแค่ท่านพลิกนิดเดียวเท่านั้น.. . ไ ม่ ใ ช้ สายตาในการเพ่งลม
ตาท่านก็หลับไป ธรรมดาปกติ แต่ใช้ความรู้สึกสัมผัสกับลม
เหมือนกับที่ท่านกำลังลืมตาอยู่ตอนนี้
ถ้าท่านลืมตาขึ้นมา แล้วท่านดูลมเข้า ลมออก ท่านจะรู้สึกไม่เพ่ง ถูกไหม..
.
ไม่ได้ใช้การเพ่ง ไม่ได้ใช้สายตามาเพ่งที่ปลายจมูก แต่..
“รู้ สึ ก ว่ า ล ม เ ข้ า รู้ สึ ก ว่ า ล ม อ อ ก”
นี่คือวิธีปฏิบัติ “อานาปานสติ” (ฟังให้ดีนะ..)
.
จะไม่ได้เพ่งนะ! ถ้าเพ่งเมื่อไหร่จะเป็นการปฏิบัติสมถะเข้าสู่ฌานเท่านั้น
เพราะการเพ่งนี้จะเกิดมโนภาพต่างๆมากมาย เพราะตาท่านจะเปลี่ยนยุกยิกๆ
มันจะวิ่งจับแสงนั่นแสงนี่ หลับตาลงไปเห็นสีดำ แทนที่จะอยู่กับลม มันไม่อยู่
.
มันไปอยู่กับแสงที่อยู่ในตานี่ แม้แต่ไอ้สีดำ ที่ตามันปิดลงมานี่ มันมืด มันก็ไม่ได้มืดดำสนิท
บางทีก็เกิดเขียวในดำ แดงในดำ ส้มในดำ ขาวในดำ เป็นแสงเหมือนหิ่งห้อยยิบยับๆ อย่างงั้น อย่างงี้
ท่านจะเห็น บางทีมันก็หมุนวน วูบๆๆ ลักษณะเหมือนมันหมุนอยู่ในตาเรา
เป็นเหมือนอะไรดูด เป็นคลื่นพลังงาน มันจะไปอย่างงั้น
“สิ่งเหล่านี้จะ ห ล อ ก ล่ อ ท่านออกจากลมทั้งหมด”
.
เพราะท่านใช้สายตา คือ ความรู้ท่านมาอยู่กับตาหมดแล้ว เห็นไหม..
สังเกตดีๆนะ มันจะออกไปทางนั้น
แต่ถ้ามันจะเป็นอะไรเป็นไปในตานี้ ช่างมัน.. .
แต่ ความรู้สึกนี่ “รู้ว่าลมเข้า รู้ว่าลมออก"
.
ไม่ได้เพ่ง! ไม่ได้เพ่งในลม
แต่ รู้ สึ ก ใ น ล ม
รู้สึกกับลมหายใจนั้น เหมือนประหนึ่งว่า ความรู้กับลมนั้นเป็นหนึ่งเดียว
ไม่ได้แยกจากกัน มันพลิกอยู่แค่นี้เอง นิดเดียวเท่านั้น
.
และการปฏิบัติชนิดนี้ จะไม่รังเกียจความคิด
จะเห็นว่าความคิดก็เป็นสิ่งๆหนึ่งที่มันเกิดขึ้น ไม่ได้รำคาญเลย
เราไม่ได้รำคาญเสียงเลย เพราะมันเป็นธรรมดา
เป็นผู้ เ รี ย น รู้ ทุกสภาวะ.. อยู่ บ น ล ม หายใจ
ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ
.
(ถอดบทความจากไลฟ์สด เช้า 04.00 น. วันที่ 25/06/66)
ครูบาฉ่าย
วัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์
ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ แห่งวัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์ ธรรมมะที่ดุดัน ชัดแจ้ง เป็นไปเพื่อความหลุดพ้นอย่างแท้จริง
ครูบาฉ่าย
วัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์
ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ แห่งวัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์ ธรรมมะที่ดุดัน ชัดแจ้ง เป็นไปเพื่อความหลุดพ้นอย่างแท้จริง
ครูบาฉ่าย
วัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์
ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ แห่งวัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์ ธรรมมะที่ดุดัน ชัดแจ้ง เป็นไปเพื่อความหลุดพ้นอย่างแท้จริง
ครูบาฉ่าย
วัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์
ครูบาฉ่าย คัมภีรปัญโญ แห่งวัดป่าบ่อน้ำพระอินทร์ ธรรมมะที่ดุดัน ชัดแจ้ง เป็นไปเพื่อความหลุดพ้นอย่างแท้จริง
ธรรมมะจากผู้บรรยายเดียวกัน
ครูบาฉ่าย
อย่าหาโทษใส่ตัวเอง
ข้อธรรมคําสอน
ครูบาฉ่าย
อย่าหาโทษใส่ตัวเอง
ข้อธรรมคําสอน
ครูบาฉ่าย
อย่าหาโทษใส่ตัวเอง
ข้อธรรมคําสอน
ครูบาฉ่าย
ใจที่ตั้งมั่น
ข้อธรรมคําสอน
ครูบาฉ่าย
ใจที่ตั้งมั่น
ข้อธรรมคําสอน
ครูบาฉ่าย
ใจที่ตั้งมั่น
ข้อธรรมคําสอน
ครูบาฉ่าย
ว่าด้วยเรื่อง ความคิด
บทบรรยาย
ครูบาฉ่าย
ว่าด้วยเรื่อง ความคิด
บทบรรยาย
ครูบาฉ่าย
ว่าด้วยเรื่อง ความคิด
บทบรรยาย
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com