ความหลง คือ รากเหง้า

พระอาจารย์ตะวัน

บทบรรยาย

พระอาจารย์ตะวัน

บทบรรยาย

พระอาจารย์ตะวัน

บทบรรยาย

พระอาจารย์ตะวัน

บทบรรยาย

พระอาจารย์ตะวัน
พระอาจารย์ตะวัน
พระอาจารย์ตะวัน
พระอาจารย์ตะวัน

ความหลง หรือ อวิชชา; “ความหลง” คืออะไร?

ความหลงคือ ความติดอยู่ ความไม่รู้ ความเข้าใจผิด 

ทำให้เราหลงติดอยู่ใน ภพน้อย - ภพใหญ่

ถูกปกคลุมอยู่ด้วยความมืด ทำให้เข้าใจผิด ทำให้เราเห็นผิด 

ใจที่ถูกความหลงปกคลุมอยู่ก็เลยเต็มไปด้วย

ความวิตกกังวล ความหวาดกลัว ความหวาดระแวง 

ความวางใจลงไม่ได้ ใจเราที่ปกคลุมอยู่ด้วยอารมณ์เหล่านี้ 

เวลาศึกษาอะไรก็ไม่แจ่มชัด ไม่แจ่มแจ้ง 

 

ถ้าใจเรามีความเป็นปกติอยู่ วางใจไว้กลางๆ ไม่หดหู่ ไม่เซื่องซึม 

ไม่พะวักพะวงไปในเรื่องของอดีต ไม่พะวักพะวงไปในเรื่องของอนาคต

รักษาความเป็นกลาง ตั้งอยู่กับฐานคือจิตใจของตนเองได้ 

ใจจะมีความเฉลียวฉลาดในการเรียนรู้ มันจะกระจ่างแจ้ง มันจะเคลียร์ชัด

มันจะคลี่คลายความติดอยู่ภายในใจได้ ท่านเรียกว่าการเจริญ อานาปานสติ

คือการ เจริญสติโดยอาศัยลมหายใจ

 

หลักที่เป็นทางสายเอกที่สามารถนำพาสรรพสัตว์ออกจากทุกข์ 

ท่านเรียกว่า มหาสติปัฏฐาน 

มหาสติก็คือหลักใหญ่ มหานี่คือใหญ่ สติคือความระลึก 

หลักใหญ่ๆ ที่เป็นที่ตั้งแห่งความระลึก

ที่เป็นหนทางที่นำพาสรรพสัตว์ออกจากทุกข์

 

มหาสติปัฏฐาน 4 เป็นทางสายเอก 

กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ระลึกอยู่ที่กาย เห็นร่างกาย 

เห็นกายภายนอก - เห็นกายภายใน อาศัยลมเป็นเครื่องระลึก อานาปานสติ

บางทีเราจะเห็นอารมณ์ของความบีบคั้น ความฟุ้งซ่าน ความเซื่องซึม

ความลังเลสงสัย ความหดหู่ ความสุข-ความทุกข์ เวทนาเห็นอารมณ์

 

จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน เห็นใจที่สะสมเรื่องราวเอาไว้

เห็นสมบัติของใจ ที่แสดงเรื่องราวต่างๆอยู่ภายใน

กายตั้งอยู่ก็จริง แต่ใจก็แสดงเรื่องราวต่างๆ

เรื่องของอดีต - เรื่องของอนาคต

 

ใจที่หลงติดอยู่ ในเรื่องของอดีต ในเรื่องของอนาคต 

ก็กลับมารู้สึกตัว อยู่กับปัจจุบัน 

อยู่กับลมหายใจในปัจจุบัน วางใจไว้กลางๆ 

เมื่อสติมีกำลังแล้ว เขาจะแยกออก เรียกว่า 

ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือเราจะเห็นความจริงของสิ่งต่างๆ 

สิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลกนี้ล้วนแล้วแต่จริงทั้งนั้น

ไม่มีอะไรเลยที่ไม่จริง 

 

การเกิดขึ้นบนโลกใบนี้ เกิดในครรภ์ก็ดี เกิดในไข่

เกิดในไคล-ของปฏิกูล พุดขึ้นเกิด เกิดแบบโอปปาติกะ

การเกิดขึ้นของสรรพสัตว์

 

โดยเฉพาะมนุษย์ ที่พวกเราเห็นๆกันอยู่..

มนุษย์ที่มีทัศนคติที่ดี มนุษย์ที่มีทัศนคติที่คับแคบ 

มนุษย์ชั้นดี - มนุษย์ชั้นกลาง - มนุษย์ชั้นด้อย 

พิกลพิการ มีเลเวล(Level) มีความต่างของอินทรีย์ 

ไม่สามารถเลือกได้ดั่งใจ เป็นไปตามสมบัติของกรรมใครกรรมมัน 

 

ทุกอย่างที่เกิดขึ้นล้วนจริงอยู่แล้ว ความมืดมันก็จริงของมันอยู่แล้ว 

กลางวันก็สว่าง มันก็จริงของมันอยู่แล้ว 

ความดีก็จริงอยู่แล้ว ความชั่วก็จริงอยู่แล้ว 

แต่ทุกอย่างล้วนแล้วแต่อาศัยเหตุแห่งตน 

ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ ล้วนแล้วแต่มีเหตุปัจจัยแห่งตน ..

 

เราจะรู้ก็ตาม หรือ ไม่รู้ก็ตาม เราจะเห็นก็ตาม หรือ ไม่เห็นก็ตาม 

ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ล้วน หมุนไปตามเหตุปัจจัยแห่งตน 

เราก็มีเหตุผลของเรา เขาก็มีเหตุผลของเขา 

ความจริงไม่ได้ขึ้นอยู่กับความพอใจ ไม่พอใจ 

ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความเข้าใจ หรือ ไม่เข้าใจ

ทุกอย่างเกิดขึ้นตามความจริงของมัน

 

ใจที่คัดค้าน ใจที่ไม่เห็นความจริง ใจที่คัดค้านต่อความจริง 

เพราะใจดวงนั้นยังไม่เห็นตรงตามความจริง 

ยังไม่สามารถยอมรับความจริงได้ .. .

 

การที่เราเฝ้าเห็นใจ ที่มันคอยคัดค้านต้านทานอยู่ภายใน

เห็นความขัดแย้งที่มันซ่อนอยู่ในใจเรา 

เวลาที่เราได้เห็น ได้ยิน ได้ฟัง ในสิ่งที่เราชอบใจก็ตาม หรือไม่ชอบใจก็ตาม

ถ้าเราสังเกต เราจะเห็นความขัดแย้งที่ซ่อนอยู่ในใจ “ นี่ แ ห ล ะ ทุ ก ข์ ”

ไม่ได้ไปเกิดขึ้นที่ไหน มันซุกซ่อนอยู่ในใจแห่งตนเท่านั้น

ไม่ได้อยู่ข้างนอกเลย ..

 

เมื่อเราเห็นความบีบคั้น ความขัดแย้ง ซุกซ่อนอยู่ภายในใจเรา

ความไม่เข้าใจก็ตาม ความเข้าใจผิดก็ตาม 

ความเพลิดเพลิน ความหดหู่ ความลังเลสงสัย 

เป็นสิ่งที่ปกคลุมจิตใจของสรรพสัตว์ ทำให้เราเพลิดเพลินอยู่ในภพ 

เมาในวัย เมาในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ นุ่ม-เบา แข็ง-อ่อน

เพราะเราไม่ได้ยินไม่ได้ฟัง เราก็เลยเข้าใจคลาดเคลื่อน เห็นผิด เข้าใจผิด 

เข้าใจผิดไปเอง เห็นผิดไปเอง “ ท่านเรียกว่าความหลงปกคลุม “

 

มันต้องเป็นอย่างนั้นหรือเปล่า หรือ มันต้องเป็นอย่างนี้ 

ความเห็นของเราที่เราเคยมีต่อสิ่งต่างๆบนโลก 

ประสบการของผู้ที่ผ่านโลกมานาน 

จึงเห็นโทษของความเห็นที่เรามีต่อสิ่งต่างๆ 

 

ถ้าความคิดของเราดี ความเห็นของเราดีแล้ว

ทำไม..ผลของชีวิตของเรามันยังอยู่ในความกังวล

มันยังอยู่ในความกลัว อยู่ในความหวาดระแวง

วางใจลงไม่ได้ ผลของเรา ทำไม..ยังมีความทุกข์

บีบคั้นซุกซ่อนอยู่ในใจ ทำไมจิตใจของเรายังถูกปกคลุมอยู่

ทำไมยังไม่เจอสมบัติที่พึ่งจริงๆ  .. .

 

แต่เมื่อเราได้เปิดใจในการศึกษาความจริง

เรียนรู้ในการยอมรับความจริงที่เราจะต้องเผชิญ

ท่านเรียกว่าความเฉลียวฉลาด ตรงนี้ท่านเรียกว่าปัญญา 

 

ความเฉลียวฉลาดเรียกว่า ปั ญ ญ า

เราเคยเห็นความน้อยใจไหม? ความน้อยใจ - ความหดหู่

ความน้อยใจ มันบีบคั้นให้คนฆ่าตัวตายได้ มันเป็นความน้อยใจ

เป็นความบีบคั้นที่ซ่อนอยู่ภายใน จมอยู่ในอารมณ์แห่งความผิดหวังเล็กๆ

ถ้าเราไม่สามารถมองเห็นในมุมที่กว้างกว่านี้ได้

คนก็จะจมอยู่ในความบีบคั้นความน้อยใจนั้น

 

แต่สำหรับคนที่มีความเฉลียวฉลาด

จะออกมาเฝ้ามองสังเกตดูความจริงในมุมต่างๆ

ความน้อยใจไม่เห็นจะเป็นประโยชน์ต่อเราเลย

 

ออกมาเฝ้าสังเกต สำรวจ มองดู มุมที่ดี หรือว่าเหตุที่ดี เหตุที่ดีของมันมีอะไร 

มันจะมีสิ่งที่เป็นประโยชน์แทรกอยู่ในนี้ไหม.. ?

ท่านเรียกว่าความเฉลียวฉลาดในการพาตัวเอง

ออกจากอารมณ์ของความบีบคั้นแห่งทุกข์

คือไม่จมอยู่ในอารมณ์นั้น คือออกจากสิ่งนั้นมาเฝ้าสังเกตดูในแง่มุมต่างๆ

 

เมื่อเราเห็นความจริง เราก็จะเห็นว่า ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ มี 2 ด้านเสมอ

ทุกอย่างมีทั้งประโยชน์ มีทั้งโทษ ล้วนแล้วแต่ประกอบด้วยบวก และ ลบ

ย่อมมีมุมที่เกื้อกูลประโยชน์ และ ย่อมมีมุมที่เป็นโทษ

มันขึ้นอยู่กับความเฉลียวฉลาดในการเฝ้าสังเกตนั่นเอง

เขาเรียกว่า ปั ญ ญ า  การเพาะบ่มอบรมปัญญา

 

สิ่งที่จะเกื้อกูลปัญญานั้นได้ก็คือ สัมมาทิฏฐิ

วางใจไว้กลางๆ เรียนรู้ด้วยความปราศจากอคติ

ไม่ลำเอียงเพราะรัก ไม่ลำเอียงเพราะกลัว ไม่ลำเอียงเพราะหลง

ไม่ลำเอียงเพราะความโง่เขลา ไม่ได้เชื่อเลย แล้วก็ไม่ได้คัดค้าน แต่..

เปิดใจในการศึกษาอยู่ด้วย ใจที่เป็นกลางๆ 

 

 

ความหลงนี่แหละคือ รากเหง้าของสิ่งทั้งปวง

ที่ทำให้สรรพสัตว์ “ ทุ ก ข์ ”

 

เมื่อเราหลงอยู่ในรูป หลงอยู่ในความพอใจ 

หลงอยู่ในอารมณ์ ความบีบคั้นในการแสวงหาให้ยิ่งๆขึ้น 

เรียกว่าอำนาจแห่ง ค ว า ม โ ล ภ แผดเผาจิตใจของสรรพสัตว์

เพราะหลงยินดีพอใจในสิ่งนั้น โดยที่เราไม่ได้ศึกษาว่า

สิ่งนั้นจริงหรือหลอก สิ่งนั้นเป็นประโยชน์ หรือ เป็นโทษ 

เราก็เลยหลงเข้าใจว่าสิ่งนั้น..เป็นสิ่งที่เราพึงแสวงหา 

 

สรรพสัตว์ก็เลยหลงแสวงหา รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส 

อยู่อย่างกระเซอะ - กระเซิง เหมือนจะเจอแต่ก็ไม่เจอ 

เหมือนจะได้แต่ก็ไม่ได้ วันแล้ววันเล่า เดือนแล้วเดือนเล่า ปีแล้วปีเล่า 

ตะครุบเงาตัวเอง ตะครุบในสิ่งที่ไม่มีจริง 

 

หลงอยู่ในรูป หลงอยู่ในความพอใจ

หลงอยู่ในอารมณ์ หลงรูป หลงอารมณ์ หลงโลก

เมื่อประสบกับความพลัดพราก เมื่อประสบกับสิ่งที่ไม่พอใจ

เมื่อมีคนมาแย่งสิ่งเดียวกัน มาแย่งพื้นที่ส่วนตัว ทะเลาะกัน .. 

 

ความอาฆาตพยาบาทผูกโกรธ ทำให้ใจเศร้าหมอง 

ความเห็นผิด ความเข้าใจผิด ความไม่รู้ ทำให้เราเข้าใจคลาดเคลื่อน 

บางทีเราอาจจะเข้าใจผิดไปเอง บางทีเขายังไม่ทันได้ว่าอะไรเราเลย 

บางทีเราอาจจะเข้าใจผิดไปเอง เข้าใจผิดไปเอง 

คิดไปเอง “หลงอยู่ในความคิด”

 

เมื่อสติสัมปชัญญะของเรามีกำลัง มันก็จะมาตรวจสอบ 

เห็นความติดอยู่นี่เอง ไม่ได้เห็นอะไร ..

เห็นความติดอยู่คือ “เห็นทุกข์” ที่มันขังเราไว้อยู่ 

แต่ละคนจะติดอยู่ในเรื่องราวที่แตกต่างกัน 

 

บางคนหลงติดอยู่กับคนอื่น หลงติดอยู่ในรูปของคนอื่น 

ไม่เห็นเขานี่เหมือนใจจะขาด หลงติดอยู่ในอารมณ์ 

หลงติดอยู่ในอดีตที่มันร่วงไปแล้ว 

หลงติดอยู่ในอนาคตที่มันยังมาไม่ถึง 

เกิดความวิตกกังวล ฟุ้งซ่าน 

 

เมื่อไหร่ก็ตาม …

ที่ใจเราหลงติดอยู่กับสิ่งที่เราไม่สามารถควบคุมได้ 

นั่นแหละใจเราจะอยู่ในความกังวล ความหวาดกลัว 

ความหวาดระแวง สิ่งที่เราทำได้คือ ความรู้สึกตัว 

สลัดความหลงติดอยู่ออก กลับมารู้สึกตัวอยู่กับตัวเอง 

 

อะไรก็ตามที่เราไม่สามารถควบคุมได้ 

อะไรก็ตามที่เปลี่ยนแปลงได้ 

สิ่งนั้นไม่น่าไว้วางใจ “สิ่งนั้นเป็นทุกข์”

 

รูปเอ๋ย จงเป็นอย่างนี้เถิด อย่าเป็นอย่างนั้นเลย 

เราจงหนุ่ม จมูกต้องโด่ง ตาต้องคม ผิวต้องขาวผ่อง

จงเป็นอย่างนี้เถอะ อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย .. .

ความชราคร่ำคร่ากลืนกิน ความจริงก็ปรากฏ 

มันไม่สามารถบังคับบัญชาการ 

 

คนที่เมาอยู่ในรูป ก็เลยไม่ได้สนใจศึกษา

ในสิ่งที่ตนจะต้องเผชิญคือ ค ว า ม เ สื่ อ ม  

ความชรา ความเจ็บไข้ได้ป่วย แม้แต่ความตาย 

ก็ลืมไป ไม่รู้ว่าตัวเองจะต้องตาย 

 

ความเมา ความหลงอยู่ในรูป หลงอยู่กามคุณ 

แสวงหา เพลิดเพลินอยู่ หลงอยู่ เมาอยู่ 

เหมือนโดนอสรพิษร้ายฉกกัด ตาบอด หูหนวก

ใครจะพูดถึงโทษของความพลัดพราก 

ก็ไม่ประจักษ์แจ้งแก่ใจ เพราะมันกำลังสนุกสนาน 

กำลังมัวเมาอยู่ หมกมุ่น หลงติดอยู่ในสิ่งนั้น 

 

เหมือนโดนอสรพิษร้ายฉกกัด ทำให้ตาบอด หูหนวก เห็นไหม? 

ความหลงเป็นภัย เป็นพิษร้าย เข้าใจผิด เห็นผิด

เข้าใจว่าสิ่งที่เรากำลังทำอยู่จะเกิดประโยชน์ 

เมื่อรู้สึกตัวเราเสียเวลามาตั้งนาน เราแสวงหาทรัพย์

ยศ สรรเสริญ เราแสวงหามาตลอด .. .

 

เข้าใจว่าสิ่งเหล่านี้จะเป็นที่พึ่งให้เราได้จริง 

เมื่อรู้สึกตัวอีกทีนึง เราเข้าใจผิด สิ่งนี้ไม่มีอยู่จริง 

เมื่อเราเริ่มรู้สึกตัวแล้ว ก็เริ่มพลัดพรากจากวัยแล้ว  

เห็นตัวเองในกระจก เมื่อก่อนเราหนุ่มกว่านี้ เมื่อก่อนเราสาวกว่านี้ 

มันไม่ได้จบเท่านั้น เรากำลังร่วงโรยไป กำลังเสื่อมสลายไป

สู่ความ ต า ย  เป็นที่สุด .. .

 

อะไรคือสมบัติที่เราจะหวังพึ่งได้จริง ความรู้ที่มันซ่อนอยู่ในใจเรา 

ที่มันออกมาแสวงหาความรู้อันยิ่ง มีสิ่งไหนที่เป็นที่พึ่งของสรรพสัตว์ 

อะไรจะทำให้เราพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดนี้ไปได้

 

สิ่งไหนเป็นยอดแห่งวิชา …เป็นวิชาที่นำมาสรรพสัตว์ออกจากทุกข์ 

ออกจากความบีบคั้น ออกจากการเวียนว่ายตายเกิด 

 

“ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ”

เลยถูกยกย่องเป็นพระบรมครู ไม่มีครูอื่นจะยิ่งกว่า 

เป็นครูผู้สอนให้สรรพสัตว์ไปสู่สุคติสุคโต

นำพาสรรพสัตว์ให้ พ้นจากทุกข์ พ้นความบีบคั้น 

พ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด

 

 

ธรรมะที่พระพุทธเจ้าได้ตัดเอาไว้ชอบแล้ว 

สามารถเกื้อกูลประโยชน์ต่อสรรพสัตว์ได้ 

แต่เพราะเราไม่ได้สนใจในการศึกษา แก้ไขความเห็นผิด 

ก็เลยเพลิดเพลิน มัวเมา ไปในกระแสของโลก .. .

 

เมื่อเรารู้สึกตัว เมื่อถูกความทุกข์บีบคั้น

เมื่อถูกความพลัดพรากบีบคั้น น้ำตานองหน้า 

เราถึงสนใจหันกลับมา อะไรคือที่พึ่งแห่งเรา 

อะไรคือสิ่งที่จะพาเราออกจากทุกข์ นี่คือคนที่เริ่มรู้สึกตัวแล้ว

 

หันกลับมาศึกษา หนทางที่จะออกจากทุกข์แล้ว 

เงี่ยหูฟัง เปิดใจในการศึกษา ในการพัฒนาจิตภาวนา

เราก็จะเห็น เรานี่หลงทางมานาน แสวงหาอยู่

แสวงหาทางกลับบ้านมานานมากแล้ว หลงทางมานาน

เป็นกัปเป็นกัลป์หาทางกลับบ้านไม่เจอ 

 

แต่เมื่อมีคนบอกให้หันกลับมาเฝ้าดูกายใจแห่งตน 

ความสุขไม่ได้อยู่ข้างนอกเลยท่านทั้งหลาย 

ความสุขมันซ่อนอยู่ในจิตใจของตน ที่พึ่ง

ที่เราจะหวังพึ่งได้จริง ไม่ได้อยู่ข้างนอกเลยท่านทั้งหลาย 

 

ตื่นขึ้นเถิด วัฏจักรสงสารนี้ช่างยาวนาน 

พวกเราหลงทางมาแล้วกี่กัปกี่กัลป์ นับไม่ได้ .. 

อยู่ในโลกแห่งความกลัว การแก่งแย่ง แข่งขัน 

ความบีบคั้นด้วยอำนาจแห่งความโลภ ความหิวกระหาย

ร้อนก็ร้อน กันดารก็กันดาร หิวก็หิว โลกนี้ไม่ใช่ที่พึ่งของสรรพสัตว์

 

การมองกับเข้ามาสู่จิตใจตน บางทีอาจจะเห็นสมบัติที่แท้จริง 

ที่เราจะหวังพึ่งได้ มันซ่อนอยู่กับพวกเราทุกคนนี่เอง .. .

 


#พระอาจารย์ตะวัน_ปัญญาวัฒฑโก
#สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง

#พระอาจารย์ตะวัน

ความหลง หรือ อวิชชา; “ความหลง” คืออะไร?

ความหลงคือ ความติดอยู่ ความไม่รู้ ความเข้าใจผิด 

ทำให้เราหลงติดอยู่ใน ภพน้อย - ภพใหญ่

ถูกปกคลุมอยู่ด้วยความมืด ทำให้เข้าใจผิด ทำให้เราเห็นผิด 

ใจที่ถูกความหลงปกคลุมอยู่ก็เลยเต็มไปด้วย

ความวิตกกังวล ความหวาดกลัว ความหวาดระแวง 

ความวางใจลงไม่ได้ ใจเราที่ปกคลุมอยู่ด้วยอารมณ์เหล่านี้ 

เวลาศึกษาอะไรก็ไม่แจ่มชัด ไม่แจ่มแจ้ง 

 

ถ้าใจเรามีความเป็นปกติอยู่ วางใจไว้กลางๆ ไม่หดหู่ ไม่เซื่องซึม 

ไม่พะวักพะวงไปในเรื่องของอดีต ไม่พะวักพะวงไปในเรื่องของอนาคต

รักษาความเป็นกลาง ตั้งอยู่กับฐานคือจิตใจของตนเองได้ 

ใจจะมีความเฉลียวฉลาดในการเรียนรู้ มันจะกระจ่างแจ้ง มันจะเคลียร์ชัด

มันจะคลี่คลายความติดอยู่ภายในใจได้ ท่านเรียกว่าการเจริญ อานาปานสติ

คือการ เจริญสติโดยอาศัยลมหายใจ

 

หลักที่เป็นทางสายเอกที่สามารถนำพาสรรพสัตว์ออกจากทุกข์ 

ท่านเรียกว่า มหาสติปัฏฐาน 

มหาสติก็คือหลักใหญ่ มหานี่คือใหญ่ สติคือความระลึก 

หลักใหญ่ๆ ที่เป็นที่ตั้งแห่งความระลึก

ที่เป็นหนทางที่นำพาสรรพสัตว์ออกจากทุกข์

 

มหาสติปัฏฐาน 4 เป็นทางสายเอก 

กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ระลึกอยู่ที่กาย เห็นร่างกาย 

เห็นกายภายนอก - เห็นกายภายใน อาศัยลมเป็นเครื่องระลึก อานาปานสติ

บางทีเราจะเห็นอารมณ์ของความบีบคั้น ความฟุ้งซ่าน ความเซื่องซึม

ความลังเลสงสัย ความหดหู่ ความสุข-ความทุกข์ เวทนาเห็นอารมณ์

 

จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน เห็นใจที่สะสมเรื่องราวเอาไว้

เห็นสมบัติของใจ ที่แสดงเรื่องราวต่างๆอยู่ภายใน

กายตั้งอยู่ก็จริง แต่ใจก็แสดงเรื่องราวต่างๆ

เรื่องของอดีต - เรื่องของอนาคต

 

ใจที่หลงติดอยู่ ในเรื่องของอดีต ในเรื่องของอนาคต 

ก็กลับมารู้สึกตัว อยู่กับปัจจุบัน 

อยู่กับลมหายใจในปัจจุบัน วางใจไว้กลางๆ 

เมื่อสติมีกำลังแล้ว เขาจะแยกออก เรียกว่า 

ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือเราจะเห็นความจริงของสิ่งต่างๆ 

สิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลกนี้ล้วนแล้วแต่จริงทั้งนั้น

ไม่มีอะไรเลยที่ไม่จริง 

 

การเกิดขึ้นบนโลกใบนี้ เกิดในครรภ์ก็ดี เกิดในไข่

เกิดในไคล-ของปฏิกูล พุดขึ้นเกิด เกิดแบบโอปปาติกะ

การเกิดขึ้นของสรรพสัตว์

 

โดยเฉพาะมนุษย์ ที่พวกเราเห็นๆกันอยู่..

มนุษย์ที่มีทัศนคติที่ดี มนุษย์ที่มีทัศนคติที่คับแคบ 

มนุษย์ชั้นดี - มนุษย์ชั้นกลาง - มนุษย์ชั้นด้อย 

พิกลพิการ มีเลเวล(Level) มีความต่างของอินทรีย์ 

ไม่สามารถเลือกได้ดั่งใจ เป็นไปตามสมบัติของกรรมใครกรรมมัน 

 

ทุกอย่างที่เกิดขึ้นล้วนจริงอยู่แล้ว ความมืดมันก็จริงของมันอยู่แล้ว 

กลางวันก็สว่าง มันก็จริงของมันอยู่แล้ว 

ความดีก็จริงอยู่แล้ว ความชั่วก็จริงอยู่แล้ว 

แต่ทุกอย่างล้วนแล้วแต่อาศัยเหตุแห่งตน 

ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ ล้วนแล้วแต่มีเหตุปัจจัยแห่งตน ..

 

เราจะรู้ก็ตาม หรือ ไม่รู้ก็ตาม เราจะเห็นก็ตาม หรือ ไม่เห็นก็ตาม 

ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ล้วน หมุนไปตามเหตุปัจจัยแห่งตน 

เราก็มีเหตุผลของเรา เขาก็มีเหตุผลของเขา 

ความจริงไม่ได้ขึ้นอยู่กับความพอใจ ไม่พอใจ 

ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความเข้าใจ หรือ ไม่เข้าใจ

ทุกอย่างเกิดขึ้นตามความจริงของมัน

 

ใจที่คัดค้าน ใจที่ไม่เห็นความจริง ใจที่คัดค้านต่อความจริง 

เพราะใจดวงนั้นยังไม่เห็นตรงตามความจริง 

ยังไม่สามารถยอมรับความจริงได้ .. .

 

การที่เราเฝ้าเห็นใจ ที่มันคอยคัดค้านต้านทานอยู่ภายใน

เห็นความขัดแย้งที่มันซ่อนอยู่ในใจเรา 

เวลาที่เราได้เห็น ได้ยิน ได้ฟัง ในสิ่งที่เราชอบใจก็ตาม หรือไม่ชอบใจก็ตาม

ถ้าเราสังเกต เราจะเห็นความขัดแย้งที่ซ่อนอยู่ในใจ “ นี่ แ ห ล ะ ทุ ก ข์ ”

ไม่ได้ไปเกิดขึ้นที่ไหน มันซุกซ่อนอยู่ในใจแห่งตนเท่านั้น

ไม่ได้อยู่ข้างนอกเลย ..

 

เมื่อเราเห็นความบีบคั้น ความขัดแย้ง ซุกซ่อนอยู่ภายในใจเรา

ความไม่เข้าใจก็ตาม ความเข้าใจผิดก็ตาม 

ความเพลิดเพลิน ความหดหู่ ความลังเลสงสัย 

เป็นสิ่งที่ปกคลุมจิตใจของสรรพสัตว์ ทำให้เราเพลิดเพลินอยู่ในภพ 

เมาในวัย เมาในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ นุ่ม-เบา แข็ง-อ่อน

เพราะเราไม่ได้ยินไม่ได้ฟัง เราก็เลยเข้าใจคลาดเคลื่อน เห็นผิด เข้าใจผิด 

เข้าใจผิดไปเอง เห็นผิดไปเอง “ ท่านเรียกว่าความหลงปกคลุม “

 

มันต้องเป็นอย่างนั้นหรือเปล่า หรือ มันต้องเป็นอย่างนี้ 

ความเห็นของเราที่เราเคยมีต่อสิ่งต่างๆบนโลก 

ประสบการของผู้ที่ผ่านโลกมานาน 

จึงเห็นโทษของความเห็นที่เรามีต่อสิ่งต่างๆ 

 

ถ้าความคิดของเราดี ความเห็นของเราดีแล้ว

ทำไม..ผลของชีวิตของเรามันยังอยู่ในความกังวล

มันยังอยู่ในความกลัว อยู่ในความหวาดระแวง

วางใจลงไม่ได้ ผลของเรา ทำไม..ยังมีความทุกข์

บีบคั้นซุกซ่อนอยู่ในใจ ทำไมจิตใจของเรายังถูกปกคลุมอยู่

ทำไมยังไม่เจอสมบัติที่พึ่งจริงๆ  .. .

 

แต่เมื่อเราได้เปิดใจในการศึกษาความจริง

เรียนรู้ในการยอมรับความจริงที่เราจะต้องเผชิญ

ท่านเรียกว่าความเฉลียวฉลาด ตรงนี้ท่านเรียกว่าปัญญา 

 

ความเฉลียวฉลาดเรียกว่า ปั ญ ญ า

เราเคยเห็นความน้อยใจไหม? ความน้อยใจ - ความหดหู่

ความน้อยใจ มันบีบคั้นให้คนฆ่าตัวตายได้ มันเป็นความน้อยใจ

เป็นความบีบคั้นที่ซ่อนอยู่ภายใน จมอยู่ในอารมณ์แห่งความผิดหวังเล็กๆ

ถ้าเราไม่สามารถมองเห็นในมุมที่กว้างกว่านี้ได้

คนก็จะจมอยู่ในความบีบคั้นความน้อยใจนั้น

 

แต่สำหรับคนที่มีความเฉลียวฉลาด

จะออกมาเฝ้ามองสังเกตดูความจริงในมุมต่างๆ

ความน้อยใจไม่เห็นจะเป็นประโยชน์ต่อเราเลย

 

ออกมาเฝ้าสังเกต สำรวจ มองดู มุมที่ดี หรือว่าเหตุที่ดี เหตุที่ดีของมันมีอะไร 

มันจะมีสิ่งที่เป็นประโยชน์แทรกอยู่ในนี้ไหม.. ?

ท่านเรียกว่าความเฉลียวฉลาดในการพาตัวเอง

ออกจากอารมณ์ของความบีบคั้นแห่งทุกข์

คือไม่จมอยู่ในอารมณ์นั้น คือออกจากสิ่งนั้นมาเฝ้าสังเกตดูในแง่มุมต่างๆ

 

เมื่อเราเห็นความจริง เราก็จะเห็นว่า ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ มี 2 ด้านเสมอ

ทุกอย่างมีทั้งประโยชน์ มีทั้งโทษ ล้วนแล้วแต่ประกอบด้วยบวก และ ลบ

ย่อมมีมุมที่เกื้อกูลประโยชน์ และ ย่อมมีมุมที่เป็นโทษ

มันขึ้นอยู่กับความเฉลียวฉลาดในการเฝ้าสังเกตนั่นเอง

เขาเรียกว่า ปั ญ ญ า  การเพาะบ่มอบรมปัญญา

 

สิ่งที่จะเกื้อกูลปัญญานั้นได้ก็คือ สัมมาทิฏฐิ

วางใจไว้กลางๆ เรียนรู้ด้วยความปราศจากอคติ

ไม่ลำเอียงเพราะรัก ไม่ลำเอียงเพราะกลัว ไม่ลำเอียงเพราะหลง

ไม่ลำเอียงเพราะความโง่เขลา ไม่ได้เชื่อเลย แล้วก็ไม่ได้คัดค้าน แต่..

เปิดใจในการศึกษาอยู่ด้วย ใจที่เป็นกลางๆ 

 

 

ความหลงนี่แหละคือ รากเหง้าของสิ่งทั้งปวง

ที่ทำให้สรรพสัตว์ “ ทุ ก ข์ ”

 

เมื่อเราหลงอยู่ในรูป หลงอยู่ในความพอใจ 

หลงอยู่ในอารมณ์ ความบีบคั้นในการแสวงหาให้ยิ่งๆขึ้น 

เรียกว่าอำนาจแห่ง ค ว า ม โ ล ภ แผดเผาจิตใจของสรรพสัตว์

เพราะหลงยินดีพอใจในสิ่งนั้น โดยที่เราไม่ได้ศึกษาว่า

สิ่งนั้นจริงหรือหลอก สิ่งนั้นเป็นประโยชน์ หรือ เป็นโทษ 

เราก็เลยหลงเข้าใจว่าสิ่งนั้น..เป็นสิ่งที่เราพึงแสวงหา 

 

สรรพสัตว์ก็เลยหลงแสวงหา รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส 

อยู่อย่างกระเซอะ - กระเซิง เหมือนจะเจอแต่ก็ไม่เจอ 

เหมือนจะได้แต่ก็ไม่ได้ วันแล้ววันเล่า เดือนแล้วเดือนเล่า ปีแล้วปีเล่า 

ตะครุบเงาตัวเอง ตะครุบในสิ่งที่ไม่มีจริง 

 

หลงอยู่ในรูป หลงอยู่ในความพอใจ

หลงอยู่ในอารมณ์ หลงรูป หลงอารมณ์ หลงโลก

เมื่อประสบกับความพลัดพราก เมื่อประสบกับสิ่งที่ไม่พอใจ

เมื่อมีคนมาแย่งสิ่งเดียวกัน มาแย่งพื้นที่ส่วนตัว ทะเลาะกัน .. 

 

ความอาฆาตพยาบาทผูกโกรธ ทำให้ใจเศร้าหมอง 

ความเห็นผิด ความเข้าใจผิด ความไม่รู้ ทำให้เราเข้าใจคลาดเคลื่อน 

บางทีเราอาจจะเข้าใจผิดไปเอง บางทีเขายังไม่ทันได้ว่าอะไรเราเลย 

บางทีเราอาจจะเข้าใจผิดไปเอง เข้าใจผิดไปเอง 

คิดไปเอง “หลงอยู่ในความคิด”

 

เมื่อสติสัมปชัญญะของเรามีกำลัง มันก็จะมาตรวจสอบ 

เห็นความติดอยู่นี่เอง ไม่ได้เห็นอะไร ..

เห็นความติดอยู่คือ “เห็นทุกข์” ที่มันขังเราไว้อยู่ 

แต่ละคนจะติดอยู่ในเรื่องราวที่แตกต่างกัน 

 

บางคนหลงติดอยู่กับคนอื่น หลงติดอยู่ในรูปของคนอื่น 

ไม่เห็นเขานี่เหมือนใจจะขาด หลงติดอยู่ในอารมณ์ 

หลงติดอยู่ในอดีตที่มันร่วงไปแล้ว 

หลงติดอยู่ในอนาคตที่มันยังมาไม่ถึง 

เกิดความวิตกกังวล ฟุ้งซ่าน 

 

เมื่อไหร่ก็ตาม …

ที่ใจเราหลงติดอยู่กับสิ่งที่เราไม่สามารถควบคุมได้ 

นั่นแหละใจเราจะอยู่ในความกังวล ความหวาดกลัว 

ความหวาดระแวง สิ่งที่เราทำได้คือ ความรู้สึกตัว 

สลัดความหลงติดอยู่ออก กลับมารู้สึกตัวอยู่กับตัวเอง 

 

อะไรก็ตามที่เราไม่สามารถควบคุมได้ 

อะไรก็ตามที่เปลี่ยนแปลงได้ 

สิ่งนั้นไม่น่าไว้วางใจ “สิ่งนั้นเป็นทุกข์”

 

รูปเอ๋ย จงเป็นอย่างนี้เถิด อย่าเป็นอย่างนั้นเลย 

เราจงหนุ่ม จมูกต้องโด่ง ตาต้องคม ผิวต้องขาวผ่อง

จงเป็นอย่างนี้เถอะ อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย .. .

ความชราคร่ำคร่ากลืนกิน ความจริงก็ปรากฏ 

มันไม่สามารถบังคับบัญชาการ 

 

คนที่เมาอยู่ในรูป ก็เลยไม่ได้สนใจศึกษา

ในสิ่งที่ตนจะต้องเผชิญคือ ค ว า ม เ สื่ อ ม  

ความชรา ความเจ็บไข้ได้ป่วย แม้แต่ความตาย 

ก็ลืมไป ไม่รู้ว่าตัวเองจะต้องตาย 

 

ความเมา ความหลงอยู่ในรูป หลงอยู่กามคุณ 

แสวงหา เพลิดเพลินอยู่ หลงอยู่ เมาอยู่ 

เหมือนโดนอสรพิษร้ายฉกกัด ตาบอด หูหนวก

ใครจะพูดถึงโทษของความพลัดพราก 

ก็ไม่ประจักษ์แจ้งแก่ใจ เพราะมันกำลังสนุกสนาน 

กำลังมัวเมาอยู่ หมกมุ่น หลงติดอยู่ในสิ่งนั้น 

 

เหมือนโดนอสรพิษร้ายฉกกัด ทำให้ตาบอด หูหนวก เห็นไหม? 

ความหลงเป็นภัย เป็นพิษร้าย เข้าใจผิด เห็นผิด

เข้าใจว่าสิ่งที่เรากำลังทำอยู่จะเกิดประโยชน์ 

เมื่อรู้สึกตัวเราเสียเวลามาตั้งนาน เราแสวงหาทรัพย์

ยศ สรรเสริญ เราแสวงหามาตลอด .. .

 

เข้าใจว่าสิ่งเหล่านี้จะเป็นที่พึ่งให้เราได้จริง 

เมื่อรู้สึกตัวอีกทีนึง เราเข้าใจผิด สิ่งนี้ไม่มีอยู่จริง 

เมื่อเราเริ่มรู้สึกตัวแล้ว ก็เริ่มพลัดพรากจากวัยแล้ว  

เห็นตัวเองในกระจก เมื่อก่อนเราหนุ่มกว่านี้ เมื่อก่อนเราสาวกว่านี้ 

มันไม่ได้จบเท่านั้น เรากำลังร่วงโรยไป กำลังเสื่อมสลายไป

สู่ความ ต า ย  เป็นที่สุด .. .

 

อะไรคือสมบัติที่เราจะหวังพึ่งได้จริง ความรู้ที่มันซ่อนอยู่ในใจเรา 

ที่มันออกมาแสวงหาความรู้อันยิ่ง มีสิ่งไหนที่เป็นที่พึ่งของสรรพสัตว์ 

อะไรจะทำให้เราพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดนี้ไปได้

 

สิ่งไหนเป็นยอดแห่งวิชา …เป็นวิชาที่นำมาสรรพสัตว์ออกจากทุกข์ 

ออกจากความบีบคั้น ออกจากการเวียนว่ายตายเกิด 

 

“ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ”

เลยถูกยกย่องเป็นพระบรมครู ไม่มีครูอื่นจะยิ่งกว่า 

เป็นครูผู้สอนให้สรรพสัตว์ไปสู่สุคติสุคโต

นำพาสรรพสัตว์ให้ พ้นจากทุกข์ พ้นความบีบคั้น 

พ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด

 

 

ธรรมะที่พระพุทธเจ้าได้ตัดเอาไว้ชอบแล้ว 

สามารถเกื้อกูลประโยชน์ต่อสรรพสัตว์ได้ 

แต่เพราะเราไม่ได้สนใจในการศึกษา แก้ไขความเห็นผิด 

ก็เลยเพลิดเพลิน มัวเมา ไปในกระแสของโลก .. .

 

เมื่อเรารู้สึกตัว เมื่อถูกความทุกข์บีบคั้น

เมื่อถูกความพลัดพรากบีบคั้น น้ำตานองหน้า 

เราถึงสนใจหันกลับมา อะไรคือที่พึ่งแห่งเรา 

อะไรคือสิ่งที่จะพาเราออกจากทุกข์ นี่คือคนที่เริ่มรู้สึกตัวแล้ว

 

หันกลับมาศึกษา หนทางที่จะออกจากทุกข์แล้ว 

เงี่ยหูฟัง เปิดใจในการศึกษา ในการพัฒนาจิตภาวนา

เราก็จะเห็น เรานี่หลงทางมานาน แสวงหาอยู่

แสวงหาทางกลับบ้านมานานมากแล้ว หลงทางมานาน

เป็นกัปเป็นกัลป์หาทางกลับบ้านไม่เจอ 

 

แต่เมื่อมีคนบอกให้หันกลับมาเฝ้าดูกายใจแห่งตน 

ความสุขไม่ได้อยู่ข้างนอกเลยท่านทั้งหลาย 

ความสุขมันซ่อนอยู่ในจิตใจของตน ที่พึ่ง

ที่เราจะหวังพึ่งได้จริง ไม่ได้อยู่ข้างนอกเลยท่านทั้งหลาย 

 

ตื่นขึ้นเถิด วัฏจักรสงสารนี้ช่างยาวนาน 

พวกเราหลงทางมาแล้วกี่กัปกี่กัลป์ นับไม่ได้ .. 

อยู่ในโลกแห่งความกลัว การแก่งแย่ง แข่งขัน 

ความบีบคั้นด้วยอำนาจแห่งความโลภ ความหิวกระหาย

ร้อนก็ร้อน กันดารก็กันดาร หิวก็หิว โลกนี้ไม่ใช่ที่พึ่งของสรรพสัตว์

 

การมองกับเข้ามาสู่จิตใจตน บางทีอาจจะเห็นสมบัติที่แท้จริง 

ที่เราจะหวังพึ่งได้ มันซ่อนอยู่กับพวกเราทุกคนนี่เอง .. .

 


#พระอาจารย์ตะวัน_ปัญญาวัฒฑโก
#สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง

#พระอาจารย์ตะวัน

ความหลง หรือ อวิชชา; “ความหลง” คืออะไร?

ความหลงคือ ความติดอยู่ ความไม่รู้ ความเข้าใจผิด 

ทำให้เราหลงติดอยู่ใน ภพน้อย - ภพใหญ่

ถูกปกคลุมอยู่ด้วยความมืด ทำให้เข้าใจผิด ทำให้เราเห็นผิด 

ใจที่ถูกความหลงปกคลุมอยู่ก็เลยเต็มไปด้วย

ความวิตกกังวล ความหวาดกลัว ความหวาดระแวง 

ความวางใจลงไม่ได้ ใจเราที่ปกคลุมอยู่ด้วยอารมณ์เหล่านี้ 

เวลาศึกษาอะไรก็ไม่แจ่มชัด ไม่แจ่มแจ้ง 

 

ถ้าใจเรามีความเป็นปกติอยู่ วางใจไว้กลางๆ ไม่หดหู่ ไม่เซื่องซึม 

ไม่พะวักพะวงไปในเรื่องของอดีต ไม่พะวักพะวงไปในเรื่องของอนาคต

รักษาความเป็นกลาง ตั้งอยู่กับฐานคือจิตใจของตนเองได้ 

ใจจะมีความเฉลียวฉลาดในการเรียนรู้ มันจะกระจ่างแจ้ง มันจะเคลียร์ชัด

มันจะคลี่คลายความติดอยู่ภายในใจได้ ท่านเรียกว่าการเจริญ อานาปานสติ

คือการ เจริญสติโดยอาศัยลมหายใจ

 

หลักที่เป็นทางสายเอกที่สามารถนำพาสรรพสัตว์ออกจากทุกข์ 

ท่านเรียกว่า มหาสติปัฏฐาน 

มหาสติก็คือหลักใหญ่ มหานี่คือใหญ่ สติคือความระลึก 

หลักใหญ่ๆ ที่เป็นที่ตั้งแห่งความระลึก

ที่เป็นหนทางที่นำพาสรรพสัตว์ออกจากทุกข์

 

มหาสติปัฏฐาน 4 เป็นทางสายเอก 

กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ระลึกอยู่ที่กาย เห็นร่างกาย 

เห็นกายภายนอก - เห็นกายภายใน อาศัยลมเป็นเครื่องระลึก อานาปานสติ

บางทีเราจะเห็นอารมณ์ของความบีบคั้น ความฟุ้งซ่าน ความเซื่องซึม

ความลังเลสงสัย ความหดหู่ ความสุข-ความทุกข์ เวทนาเห็นอารมณ์

 

จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน เห็นใจที่สะสมเรื่องราวเอาไว้

เห็นสมบัติของใจ ที่แสดงเรื่องราวต่างๆอยู่ภายใน

กายตั้งอยู่ก็จริง แต่ใจก็แสดงเรื่องราวต่างๆ

เรื่องของอดีต - เรื่องของอนาคต

 

ใจที่หลงติดอยู่ ในเรื่องของอดีต ในเรื่องของอนาคต 

ก็กลับมารู้สึกตัว อยู่กับปัจจุบัน 

อยู่กับลมหายใจในปัจจุบัน วางใจไว้กลางๆ 

เมื่อสติมีกำลังแล้ว เขาจะแยกออก เรียกว่า 

ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือเราจะเห็นความจริงของสิ่งต่างๆ 

สิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลกนี้ล้วนแล้วแต่จริงทั้งนั้น

ไม่มีอะไรเลยที่ไม่จริง 

 

การเกิดขึ้นบนโลกใบนี้ เกิดในครรภ์ก็ดี เกิดในไข่

เกิดในไคล-ของปฏิกูล พุดขึ้นเกิด เกิดแบบโอปปาติกะ

การเกิดขึ้นของสรรพสัตว์

 

โดยเฉพาะมนุษย์ ที่พวกเราเห็นๆกันอยู่..

มนุษย์ที่มีทัศนคติที่ดี มนุษย์ที่มีทัศนคติที่คับแคบ 

มนุษย์ชั้นดี - มนุษย์ชั้นกลาง - มนุษย์ชั้นด้อย 

พิกลพิการ มีเลเวล(Level) มีความต่างของอินทรีย์ 

ไม่สามารถเลือกได้ดั่งใจ เป็นไปตามสมบัติของกรรมใครกรรมมัน 

 

ทุกอย่างที่เกิดขึ้นล้วนจริงอยู่แล้ว ความมืดมันก็จริงของมันอยู่แล้ว 

กลางวันก็สว่าง มันก็จริงของมันอยู่แล้ว 

ความดีก็จริงอยู่แล้ว ความชั่วก็จริงอยู่แล้ว 

แต่ทุกอย่างล้วนแล้วแต่อาศัยเหตุแห่งตน 

ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ ล้วนแล้วแต่มีเหตุปัจจัยแห่งตน ..

 

เราจะรู้ก็ตาม หรือ ไม่รู้ก็ตาม เราจะเห็นก็ตาม หรือ ไม่เห็นก็ตาม 

ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ล้วน หมุนไปตามเหตุปัจจัยแห่งตน 

เราก็มีเหตุผลของเรา เขาก็มีเหตุผลของเขา 

ความจริงไม่ได้ขึ้นอยู่กับความพอใจ ไม่พอใจ 

ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความเข้าใจ หรือ ไม่เข้าใจ

ทุกอย่างเกิดขึ้นตามความจริงของมัน

 

ใจที่คัดค้าน ใจที่ไม่เห็นความจริง ใจที่คัดค้านต่อความจริง 

เพราะใจดวงนั้นยังไม่เห็นตรงตามความจริง 

ยังไม่สามารถยอมรับความจริงได้ .. .

 

การที่เราเฝ้าเห็นใจ ที่มันคอยคัดค้านต้านทานอยู่ภายใน

เห็นความขัดแย้งที่มันซ่อนอยู่ในใจเรา 

เวลาที่เราได้เห็น ได้ยิน ได้ฟัง ในสิ่งที่เราชอบใจก็ตาม หรือไม่ชอบใจก็ตาม

ถ้าเราสังเกต เราจะเห็นความขัดแย้งที่ซ่อนอยู่ในใจ “ นี่ แ ห ล ะ ทุ ก ข์ ”

ไม่ได้ไปเกิดขึ้นที่ไหน มันซุกซ่อนอยู่ในใจแห่งตนเท่านั้น

ไม่ได้อยู่ข้างนอกเลย ..

 

เมื่อเราเห็นความบีบคั้น ความขัดแย้ง ซุกซ่อนอยู่ภายในใจเรา

ความไม่เข้าใจก็ตาม ความเข้าใจผิดก็ตาม 

ความเพลิดเพลิน ความหดหู่ ความลังเลสงสัย 

เป็นสิ่งที่ปกคลุมจิตใจของสรรพสัตว์ ทำให้เราเพลิดเพลินอยู่ในภพ 

เมาในวัย เมาในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ นุ่ม-เบา แข็ง-อ่อน

เพราะเราไม่ได้ยินไม่ได้ฟัง เราก็เลยเข้าใจคลาดเคลื่อน เห็นผิด เข้าใจผิด 

เข้าใจผิดไปเอง เห็นผิดไปเอง “ ท่านเรียกว่าความหลงปกคลุม “

 

มันต้องเป็นอย่างนั้นหรือเปล่า หรือ มันต้องเป็นอย่างนี้ 

ความเห็นของเราที่เราเคยมีต่อสิ่งต่างๆบนโลก 

ประสบการของผู้ที่ผ่านโลกมานาน 

จึงเห็นโทษของความเห็นที่เรามีต่อสิ่งต่างๆ 

 

ถ้าความคิดของเราดี ความเห็นของเราดีแล้ว

ทำไม..ผลของชีวิตของเรามันยังอยู่ในความกังวล

มันยังอยู่ในความกลัว อยู่ในความหวาดระแวง

วางใจลงไม่ได้ ผลของเรา ทำไม..ยังมีความทุกข์

บีบคั้นซุกซ่อนอยู่ในใจ ทำไมจิตใจของเรายังถูกปกคลุมอยู่

ทำไมยังไม่เจอสมบัติที่พึ่งจริงๆ  .. .

 

แต่เมื่อเราได้เปิดใจในการศึกษาความจริง

เรียนรู้ในการยอมรับความจริงที่เราจะต้องเผชิญ

ท่านเรียกว่าความเฉลียวฉลาด ตรงนี้ท่านเรียกว่าปัญญา 

 

ความเฉลียวฉลาดเรียกว่า ปั ญ ญ า

เราเคยเห็นความน้อยใจไหม? ความน้อยใจ - ความหดหู่

ความน้อยใจ มันบีบคั้นให้คนฆ่าตัวตายได้ มันเป็นความน้อยใจ

เป็นความบีบคั้นที่ซ่อนอยู่ภายใน จมอยู่ในอารมณ์แห่งความผิดหวังเล็กๆ

ถ้าเราไม่สามารถมองเห็นในมุมที่กว้างกว่านี้ได้

คนก็จะจมอยู่ในความบีบคั้นความน้อยใจนั้น

 

แต่สำหรับคนที่มีความเฉลียวฉลาด

จะออกมาเฝ้ามองสังเกตดูความจริงในมุมต่างๆ

ความน้อยใจไม่เห็นจะเป็นประโยชน์ต่อเราเลย

 

ออกมาเฝ้าสังเกต สำรวจ มองดู มุมที่ดี หรือว่าเหตุที่ดี เหตุที่ดีของมันมีอะไร 

มันจะมีสิ่งที่เป็นประโยชน์แทรกอยู่ในนี้ไหม.. ?

ท่านเรียกว่าความเฉลียวฉลาดในการพาตัวเอง

ออกจากอารมณ์ของความบีบคั้นแห่งทุกข์

คือไม่จมอยู่ในอารมณ์นั้น คือออกจากสิ่งนั้นมาเฝ้าสังเกตดูในแง่มุมต่างๆ

 

เมื่อเราเห็นความจริง เราก็จะเห็นว่า ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ มี 2 ด้านเสมอ

ทุกอย่างมีทั้งประโยชน์ มีทั้งโทษ ล้วนแล้วแต่ประกอบด้วยบวก และ ลบ

ย่อมมีมุมที่เกื้อกูลประโยชน์ และ ย่อมมีมุมที่เป็นโทษ

มันขึ้นอยู่กับความเฉลียวฉลาดในการเฝ้าสังเกตนั่นเอง

เขาเรียกว่า ปั ญ ญ า  การเพาะบ่มอบรมปัญญา

 

สิ่งที่จะเกื้อกูลปัญญานั้นได้ก็คือ สัมมาทิฏฐิ

วางใจไว้กลางๆ เรียนรู้ด้วยความปราศจากอคติ

ไม่ลำเอียงเพราะรัก ไม่ลำเอียงเพราะกลัว ไม่ลำเอียงเพราะหลง

ไม่ลำเอียงเพราะความโง่เขลา ไม่ได้เชื่อเลย แล้วก็ไม่ได้คัดค้าน แต่..

เปิดใจในการศึกษาอยู่ด้วย ใจที่เป็นกลางๆ 

 

 

ความหลงนี่แหละคือ รากเหง้าของสิ่งทั้งปวง

ที่ทำให้สรรพสัตว์ “ ทุ ก ข์ ”

 

เมื่อเราหลงอยู่ในรูป หลงอยู่ในความพอใจ 

หลงอยู่ในอารมณ์ ความบีบคั้นในการแสวงหาให้ยิ่งๆขึ้น 

เรียกว่าอำนาจแห่ง ค ว า ม โ ล ภ แผดเผาจิตใจของสรรพสัตว์

เพราะหลงยินดีพอใจในสิ่งนั้น โดยที่เราไม่ได้ศึกษาว่า

สิ่งนั้นจริงหรือหลอก สิ่งนั้นเป็นประโยชน์ หรือ เป็นโทษ 

เราก็เลยหลงเข้าใจว่าสิ่งนั้น..เป็นสิ่งที่เราพึงแสวงหา 

 

สรรพสัตว์ก็เลยหลงแสวงหา รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส 

อยู่อย่างกระเซอะ - กระเซิง เหมือนจะเจอแต่ก็ไม่เจอ 

เหมือนจะได้แต่ก็ไม่ได้ วันแล้ววันเล่า เดือนแล้วเดือนเล่า ปีแล้วปีเล่า 

ตะครุบเงาตัวเอง ตะครุบในสิ่งที่ไม่มีจริง 

 

หลงอยู่ในรูป หลงอยู่ในความพอใจ

หลงอยู่ในอารมณ์ หลงรูป หลงอารมณ์ หลงโลก

เมื่อประสบกับความพลัดพราก เมื่อประสบกับสิ่งที่ไม่พอใจ

เมื่อมีคนมาแย่งสิ่งเดียวกัน มาแย่งพื้นที่ส่วนตัว ทะเลาะกัน .. 

 

ความอาฆาตพยาบาทผูกโกรธ ทำให้ใจเศร้าหมอง 

ความเห็นผิด ความเข้าใจผิด ความไม่รู้ ทำให้เราเข้าใจคลาดเคลื่อน 

บางทีเราอาจจะเข้าใจผิดไปเอง บางทีเขายังไม่ทันได้ว่าอะไรเราเลย 

บางทีเราอาจจะเข้าใจผิดไปเอง เข้าใจผิดไปเอง 

คิดไปเอง “หลงอยู่ในความคิด”

 

เมื่อสติสัมปชัญญะของเรามีกำลัง มันก็จะมาตรวจสอบ 

เห็นความติดอยู่นี่เอง ไม่ได้เห็นอะไร ..

เห็นความติดอยู่คือ “เห็นทุกข์” ที่มันขังเราไว้อยู่ 

แต่ละคนจะติดอยู่ในเรื่องราวที่แตกต่างกัน 

 

บางคนหลงติดอยู่กับคนอื่น หลงติดอยู่ในรูปของคนอื่น 

ไม่เห็นเขานี่เหมือนใจจะขาด หลงติดอยู่ในอารมณ์ 

หลงติดอยู่ในอดีตที่มันร่วงไปแล้ว 

หลงติดอยู่ในอนาคตที่มันยังมาไม่ถึง 

เกิดความวิตกกังวล ฟุ้งซ่าน 

 

เมื่อไหร่ก็ตาม …

ที่ใจเราหลงติดอยู่กับสิ่งที่เราไม่สามารถควบคุมได้ 

นั่นแหละใจเราจะอยู่ในความกังวล ความหวาดกลัว 

ความหวาดระแวง สิ่งที่เราทำได้คือ ความรู้สึกตัว 

สลัดความหลงติดอยู่ออก กลับมารู้สึกตัวอยู่กับตัวเอง 

 

อะไรก็ตามที่เราไม่สามารถควบคุมได้ 

อะไรก็ตามที่เปลี่ยนแปลงได้ 

สิ่งนั้นไม่น่าไว้วางใจ “สิ่งนั้นเป็นทุกข์”

 

รูปเอ๋ย จงเป็นอย่างนี้เถิด อย่าเป็นอย่างนั้นเลย 

เราจงหนุ่ม จมูกต้องโด่ง ตาต้องคม ผิวต้องขาวผ่อง

จงเป็นอย่างนี้เถอะ อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย .. .

ความชราคร่ำคร่ากลืนกิน ความจริงก็ปรากฏ 

มันไม่สามารถบังคับบัญชาการ 

 

คนที่เมาอยู่ในรูป ก็เลยไม่ได้สนใจศึกษา

ในสิ่งที่ตนจะต้องเผชิญคือ ค ว า ม เ สื่ อ ม  

ความชรา ความเจ็บไข้ได้ป่วย แม้แต่ความตาย 

ก็ลืมไป ไม่รู้ว่าตัวเองจะต้องตาย 

 

ความเมา ความหลงอยู่ในรูป หลงอยู่กามคุณ 

แสวงหา เพลิดเพลินอยู่ หลงอยู่ เมาอยู่ 

เหมือนโดนอสรพิษร้ายฉกกัด ตาบอด หูหนวก

ใครจะพูดถึงโทษของความพลัดพราก 

ก็ไม่ประจักษ์แจ้งแก่ใจ เพราะมันกำลังสนุกสนาน 

กำลังมัวเมาอยู่ หมกมุ่น หลงติดอยู่ในสิ่งนั้น 

 

เหมือนโดนอสรพิษร้ายฉกกัด ทำให้ตาบอด หูหนวก เห็นไหม? 

ความหลงเป็นภัย เป็นพิษร้าย เข้าใจผิด เห็นผิด

เข้าใจว่าสิ่งที่เรากำลังทำอยู่จะเกิดประโยชน์ 

เมื่อรู้สึกตัวเราเสียเวลามาตั้งนาน เราแสวงหาทรัพย์

ยศ สรรเสริญ เราแสวงหามาตลอด .. .

 

เข้าใจว่าสิ่งเหล่านี้จะเป็นที่พึ่งให้เราได้จริง 

เมื่อรู้สึกตัวอีกทีนึง เราเข้าใจผิด สิ่งนี้ไม่มีอยู่จริง 

เมื่อเราเริ่มรู้สึกตัวแล้ว ก็เริ่มพลัดพรากจากวัยแล้ว  

เห็นตัวเองในกระจก เมื่อก่อนเราหนุ่มกว่านี้ เมื่อก่อนเราสาวกว่านี้ 

มันไม่ได้จบเท่านั้น เรากำลังร่วงโรยไป กำลังเสื่อมสลายไป

สู่ความ ต า ย  เป็นที่สุด .. .

 

อะไรคือสมบัติที่เราจะหวังพึ่งได้จริง ความรู้ที่มันซ่อนอยู่ในใจเรา 

ที่มันออกมาแสวงหาความรู้อันยิ่ง มีสิ่งไหนที่เป็นที่พึ่งของสรรพสัตว์ 

อะไรจะทำให้เราพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดนี้ไปได้

 

สิ่งไหนเป็นยอดแห่งวิชา …เป็นวิชาที่นำมาสรรพสัตว์ออกจากทุกข์ 

ออกจากความบีบคั้น ออกจากการเวียนว่ายตายเกิด 

 

“ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ”

เลยถูกยกย่องเป็นพระบรมครู ไม่มีครูอื่นจะยิ่งกว่า 

เป็นครูผู้สอนให้สรรพสัตว์ไปสู่สุคติสุคโต

นำพาสรรพสัตว์ให้ พ้นจากทุกข์ พ้นความบีบคั้น 

พ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด

 

 

ธรรมะที่พระพุทธเจ้าได้ตัดเอาไว้ชอบแล้ว 

สามารถเกื้อกูลประโยชน์ต่อสรรพสัตว์ได้ 

แต่เพราะเราไม่ได้สนใจในการศึกษา แก้ไขความเห็นผิด 

ก็เลยเพลิดเพลิน มัวเมา ไปในกระแสของโลก .. .

 

เมื่อเรารู้สึกตัว เมื่อถูกความทุกข์บีบคั้น

เมื่อถูกความพลัดพรากบีบคั้น น้ำตานองหน้า 

เราถึงสนใจหันกลับมา อะไรคือที่พึ่งแห่งเรา 

อะไรคือสิ่งที่จะพาเราออกจากทุกข์ นี่คือคนที่เริ่มรู้สึกตัวแล้ว

 

หันกลับมาศึกษา หนทางที่จะออกจากทุกข์แล้ว 

เงี่ยหูฟัง เปิดใจในการศึกษา ในการพัฒนาจิตภาวนา

เราก็จะเห็น เรานี่หลงทางมานาน แสวงหาอยู่

แสวงหาทางกลับบ้านมานานมากแล้ว หลงทางมานาน

เป็นกัปเป็นกัลป์หาทางกลับบ้านไม่เจอ 

 

แต่เมื่อมีคนบอกให้หันกลับมาเฝ้าดูกายใจแห่งตน 

ความสุขไม่ได้อยู่ข้างนอกเลยท่านทั้งหลาย 

ความสุขมันซ่อนอยู่ในจิตใจของตน ที่พึ่ง

ที่เราจะหวังพึ่งได้จริง ไม่ได้อยู่ข้างนอกเลยท่านทั้งหลาย 

 

ตื่นขึ้นเถิด วัฏจักรสงสารนี้ช่างยาวนาน 

พวกเราหลงทางมาแล้วกี่กัปกี่กัลป์ นับไม่ได้ .. 

อยู่ในโลกแห่งความกลัว การแก่งแย่ง แข่งขัน 

ความบีบคั้นด้วยอำนาจแห่งความโลภ ความหิวกระหาย

ร้อนก็ร้อน กันดารก็กันดาร หิวก็หิว โลกนี้ไม่ใช่ที่พึ่งของสรรพสัตว์

 

การมองกับเข้ามาสู่จิตใจตน บางทีอาจจะเห็นสมบัติที่แท้จริง 

ที่เราจะหวังพึ่งได้ มันซ่อนอยู่กับพวกเราทุกคนนี่เอง .. .

 


#พระอาจารย์ตะวัน_ปัญญาวัฒฑโก
#สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง

#พระอาจารย์ตะวัน

ความหลง หรือ อวิชชา; “ความหลง” คืออะไร?

ความหลงคือ ความติดอยู่ ความไม่รู้ ความเข้าใจผิด 

ทำให้เราหลงติดอยู่ใน ภพน้อย - ภพใหญ่

ถูกปกคลุมอยู่ด้วยความมืด ทำให้เข้าใจผิด ทำให้เราเห็นผิด 

ใจที่ถูกความหลงปกคลุมอยู่ก็เลยเต็มไปด้วย

ความวิตกกังวล ความหวาดกลัว ความหวาดระแวง 

ความวางใจลงไม่ได้ ใจเราที่ปกคลุมอยู่ด้วยอารมณ์เหล่านี้ 

เวลาศึกษาอะไรก็ไม่แจ่มชัด ไม่แจ่มแจ้ง 

 

ถ้าใจเรามีความเป็นปกติอยู่ วางใจไว้กลางๆ ไม่หดหู่ ไม่เซื่องซึม 

ไม่พะวักพะวงไปในเรื่องของอดีต ไม่พะวักพะวงไปในเรื่องของอนาคต

รักษาความเป็นกลาง ตั้งอยู่กับฐานคือจิตใจของตนเองได้ 

ใจจะมีความเฉลียวฉลาดในการเรียนรู้ มันจะกระจ่างแจ้ง มันจะเคลียร์ชัด

มันจะคลี่คลายความติดอยู่ภายในใจได้ ท่านเรียกว่าการเจริญ อานาปานสติ

คือการ เจริญสติโดยอาศัยลมหายใจ

 

หลักที่เป็นทางสายเอกที่สามารถนำพาสรรพสัตว์ออกจากทุกข์ 

ท่านเรียกว่า มหาสติปัฏฐาน 

มหาสติก็คือหลักใหญ่ มหานี่คือใหญ่ สติคือความระลึก 

หลักใหญ่ๆ ที่เป็นที่ตั้งแห่งความระลึก

ที่เป็นหนทางที่นำพาสรรพสัตว์ออกจากทุกข์

 

มหาสติปัฏฐาน 4 เป็นทางสายเอก 

กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ระลึกอยู่ที่กาย เห็นร่างกาย 

เห็นกายภายนอก - เห็นกายภายใน อาศัยลมเป็นเครื่องระลึก อานาปานสติ

บางทีเราจะเห็นอารมณ์ของความบีบคั้น ความฟุ้งซ่าน ความเซื่องซึม

ความลังเลสงสัย ความหดหู่ ความสุข-ความทุกข์ เวทนาเห็นอารมณ์

 

จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน เห็นใจที่สะสมเรื่องราวเอาไว้

เห็นสมบัติของใจ ที่แสดงเรื่องราวต่างๆอยู่ภายใน

กายตั้งอยู่ก็จริง แต่ใจก็แสดงเรื่องราวต่างๆ

เรื่องของอดีต - เรื่องของอนาคต

 

ใจที่หลงติดอยู่ ในเรื่องของอดีต ในเรื่องของอนาคต 

ก็กลับมารู้สึกตัว อยู่กับปัจจุบัน 

อยู่กับลมหายใจในปัจจุบัน วางใจไว้กลางๆ 

เมื่อสติมีกำลังแล้ว เขาจะแยกออก เรียกว่า 

ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือเราจะเห็นความจริงของสิ่งต่างๆ 

สิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลกนี้ล้วนแล้วแต่จริงทั้งนั้น

ไม่มีอะไรเลยที่ไม่จริง 

 

การเกิดขึ้นบนโลกใบนี้ เกิดในครรภ์ก็ดี เกิดในไข่

เกิดในไคล-ของปฏิกูล พุดขึ้นเกิด เกิดแบบโอปปาติกะ

การเกิดขึ้นของสรรพสัตว์

 

โดยเฉพาะมนุษย์ ที่พวกเราเห็นๆกันอยู่..

มนุษย์ที่มีทัศนคติที่ดี มนุษย์ที่มีทัศนคติที่คับแคบ 

มนุษย์ชั้นดี - มนุษย์ชั้นกลาง - มนุษย์ชั้นด้อย 

พิกลพิการ มีเลเวล(Level) มีความต่างของอินทรีย์ 

ไม่สามารถเลือกได้ดั่งใจ เป็นไปตามสมบัติของกรรมใครกรรมมัน 

 

ทุกอย่างที่เกิดขึ้นล้วนจริงอยู่แล้ว ความมืดมันก็จริงของมันอยู่แล้ว 

กลางวันก็สว่าง มันก็จริงของมันอยู่แล้ว 

ความดีก็จริงอยู่แล้ว ความชั่วก็จริงอยู่แล้ว 

แต่ทุกอย่างล้วนแล้วแต่อาศัยเหตุแห่งตน 

ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ ล้วนแล้วแต่มีเหตุปัจจัยแห่งตน ..

 

เราจะรู้ก็ตาม หรือ ไม่รู้ก็ตาม เราจะเห็นก็ตาม หรือ ไม่เห็นก็ตาม 

ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ล้วน หมุนไปตามเหตุปัจจัยแห่งตน 

เราก็มีเหตุผลของเรา เขาก็มีเหตุผลของเขา 

ความจริงไม่ได้ขึ้นอยู่กับความพอใจ ไม่พอใจ 

ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความเข้าใจ หรือ ไม่เข้าใจ

ทุกอย่างเกิดขึ้นตามความจริงของมัน

 

ใจที่คัดค้าน ใจที่ไม่เห็นความจริง ใจที่คัดค้านต่อความจริง 

เพราะใจดวงนั้นยังไม่เห็นตรงตามความจริง 

ยังไม่สามารถยอมรับความจริงได้ .. .

 

การที่เราเฝ้าเห็นใจ ที่มันคอยคัดค้านต้านทานอยู่ภายใน

เห็นความขัดแย้งที่มันซ่อนอยู่ในใจเรา 

เวลาที่เราได้เห็น ได้ยิน ได้ฟัง ในสิ่งที่เราชอบใจก็ตาม หรือไม่ชอบใจก็ตาม

ถ้าเราสังเกต เราจะเห็นความขัดแย้งที่ซ่อนอยู่ในใจ “ นี่ แ ห ล ะ ทุ ก ข์ ”

ไม่ได้ไปเกิดขึ้นที่ไหน มันซุกซ่อนอยู่ในใจแห่งตนเท่านั้น

ไม่ได้อยู่ข้างนอกเลย ..

 

เมื่อเราเห็นความบีบคั้น ความขัดแย้ง ซุกซ่อนอยู่ภายในใจเรา

ความไม่เข้าใจก็ตาม ความเข้าใจผิดก็ตาม 

ความเพลิดเพลิน ความหดหู่ ความลังเลสงสัย 

เป็นสิ่งที่ปกคลุมจิตใจของสรรพสัตว์ ทำให้เราเพลิดเพลินอยู่ในภพ 

เมาในวัย เมาในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ นุ่ม-เบา แข็ง-อ่อน

เพราะเราไม่ได้ยินไม่ได้ฟัง เราก็เลยเข้าใจคลาดเคลื่อน เห็นผิด เข้าใจผิด 

เข้าใจผิดไปเอง เห็นผิดไปเอง “ ท่านเรียกว่าความหลงปกคลุม “

 

มันต้องเป็นอย่างนั้นหรือเปล่า หรือ มันต้องเป็นอย่างนี้ 

ความเห็นของเราที่เราเคยมีต่อสิ่งต่างๆบนโลก 

ประสบการของผู้ที่ผ่านโลกมานาน 

จึงเห็นโทษของความเห็นที่เรามีต่อสิ่งต่างๆ 

 

ถ้าความคิดของเราดี ความเห็นของเราดีแล้ว

ทำไม..ผลของชีวิตของเรามันยังอยู่ในความกังวล

มันยังอยู่ในความกลัว อยู่ในความหวาดระแวง

วางใจลงไม่ได้ ผลของเรา ทำไม..ยังมีความทุกข์

บีบคั้นซุกซ่อนอยู่ในใจ ทำไมจิตใจของเรายังถูกปกคลุมอยู่

ทำไมยังไม่เจอสมบัติที่พึ่งจริงๆ  .. .

 

แต่เมื่อเราได้เปิดใจในการศึกษาความจริง

เรียนรู้ในการยอมรับความจริงที่เราจะต้องเผชิญ

ท่านเรียกว่าความเฉลียวฉลาด ตรงนี้ท่านเรียกว่าปัญญา 

 

ความเฉลียวฉลาดเรียกว่า ปั ญ ญ า

เราเคยเห็นความน้อยใจไหม? ความน้อยใจ - ความหดหู่

ความน้อยใจ มันบีบคั้นให้คนฆ่าตัวตายได้ มันเป็นความน้อยใจ

เป็นความบีบคั้นที่ซ่อนอยู่ภายใน จมอยู่ในอารมณ์แห่งความผิดหวังเล็กๆ

ถ้าเราไม่สามารถมองเห็นในมุมที่กว้างกว่านี้ได้

คนก็จะจมอยู่ในความบีบคั้นความน้อยใจนั้น

 

แต่สำหรับคนที่มีความเฉลียวฉลาด

จะออกมาเฝ้ามองสังเกตดูความจริงในมุมต่างๆ

ความน้อยใจไม่เห็นจะเป็นประโยชน์ต่อเราเลย

 

ออกมาเฝ้าสังเกต สำรวจ มองดู มุมที่ดี หรือว่าเหตุที่ดี เหตุที่ดีของมันมีอะไร 

มันจะมีสิ่งที่เป็นประโยชน์แทรกอยู่ในนี้ไหม.. ?

ท่านเรียกว่าความเฉลียวฉลาดในการพาตัวเอง

ออกจากอารมณ์ของความบีบคั้นแห่งทุกข์

คือไม่จมอยู่ในอารมณ์นั้น คือออกจากสิ่งนั้นมาเฝ้าสังเกตดูในแง่มุมต่างๆ

 

เมื่อเราเห็นความจริง เราก็จะเห็นว่า ทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ มี 2 ด้านเสมอ

ทุกอย่างมีทั้งประโยชน์ มีทั้งโทษ ล้วนแล้วแต่ประกอบด้วยบวก และ ลบ

ย่อมมีมุมที่เกื้อกูลประโยชน์ และ ย่อมมีมุมที่เป็นโทษ

มันขึ้นอยู่กับความเฉลียวฉลาดในการเฝ้าสังเกตนั่นเอง

เขาเรียกว่า ปั ญ ญ า  การเพาะบ่มอบรมปัญญา

 

สิ่งที่จะเกื้อกูลปัญญานั้นได้ก็คือ สัมมาทิฏฐิ

วางใจไว้กลางๆ เรียนรู้ด้วยความปราศจากอคติ

ไม่ลำเอียงเพราะรัก ไม่ลำเอียงเพราะกลัว ไม่ลำเอียงเพราะหลง

ไม่ลำเอียงเพราะความโง่เขลา ไม่ได้เชื่อเลย แล้วก็ไม่ได้คัดค้าน แต่..

เปิดใจในการศึกษาอยู่ด้วย ใจที่เป็นกลางๆ 

 

 

ความหลงนี่แหละคือ รากเหง้าของสิ่งทั้งปวง

ที่ทำให้สรรพสัตว์ “ ทุ ก ข์ ”

 

เมื่อเราหลงอยู่ในรูป หลงอยู่ในความพอใจ 

หลงอยู่ในอารมณ์ ความบีบคั้นในการแสวงหาให้ยิ่งๆขึ้น 

เรียกว่าอำนาจแห่ง ค ว า ม โ ล ภ แผดเผาจิตใจของสรรพสัตว์

เพราะหลงยินดีพอใจในสิ่งนั้น โดยที่เราไม่ได้ศึกษาว่า

สิ่งนั้นจริงหรือหลอก สิ่งนั้นเป็นประโยชน์ หรือ เป็นโทษ 

เราก็เลยหลงเข้าใจว่าสิ่งนั้น..เป็นสิ่งที่เราพึงแสวงหา 

 

สรรพสัตว์ก็เลยหลงแสวงหา รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส 

อยู่อย่างกระเซอะ - กระเซิง เหมือนจะเจอแต่ก็ไม่เจอ 

เหมือนจะได้แต่ก็ไม่ได้ วันแล้ววันเล่า เดือนแล้วเดือนเล่า ปีแล้วปีเล่า 

ตะครุบเงาตัวเอง ตะครุบในสิ่งที่ไม่มีจริง 

 

หลงอยู่ในรูป หลงอยู่ในความพอใจ

หลงอยู่ในอารมณ์ หลงรูป หลงอารมณ์ หลงโลก

เมื่อประสบกับความพลัดพราก เมื่อประสบกับสิ่งที่ไม่พอใจ

เมื่อมีคนมาแย่งสิ่งเดียวกัน มาแย่งพื้นที่ส่วนตัว ทะเลาะกัน .. 

 

ความอาฆาตพยาบาทผูกโกรธ ทำให้ใจเศร้าหมอง 

ความเห็นผิด ความเข้าใจผิด ความไม่รู้ ทำให้เราเข้าใจคลาดเคลื่อน 

บางทีเราอาจจะเข้าใจผิดไปเอง บางทีเขายังไม่ทันได้ว่าอะไรเราเลย 

บางทีเราอาจจะเข้าใจผิดไปเอง เข้าใจผิดไปเอง 

คิดไปเอง “หลงอยู่ในความคิด”

 

เมื่อสติสัมปชัญญะของเรามีกำลัง มันก็จะมาตรวจสอบ 

เห็นความติดอยู่นี่เอง ไม่ได้เห็นอะไร ..

เห็นความติดอยู่คือ “เห็นทุกข์” ที่มันขังเราไว้อยู่ 

แต่ละคนจะติดอยู่ในเรื่องราวที่แตกต่างกัน 

 

บางคนหลงติดอยู่กับคนอื่น หลงติดอยู่ในรูปของคนอื่น 

ไม่เห็นเขานี่เหมือนใจจะขาด หลงติดอยู่ในอารมณ์ 

หลงติดอยู่ในอดีตที่มันร่วงไปแล้ว 

หลงติดอยู่ในอนาคตที่มันยังมาไม่ถึง 

เกิดความวิตกกังวล ฟุ้งซ่าน 

 

เมื่อไหร่ก็ตาม …

ที่ใจเราหลงติดอยู่กับสิ่งที่เราไม่สามารถควบคุมได้ 

นั่นแหละใจเราจะอยู่ในความกังวล ความหวาดกลัว 

ความหวาดระแวง สิ่งที่เราทำได้คือ ความรู้สึกตัว 

สลัดความหลงติดอยู่ออก กลับมารู้สึกตัวอยู่กับตัวเอง 

 

อะไรก็ตามที่เราไม่สามารถควบคุมได้ 

อะไรก็ตามที่เปลี่ยนแปลงได้ 

สิ่งนั้นไม่น่าไว้วางใจ “สิ่งนั้นเป็นทุกข์”

 

รูปเอ๋ย จงเป็นอย่างนี้เถิด อย่าเป็นอย่างนั้นเลย 

เราจงหนุ่ม จมูกต้องโด่ง ตาต้องคม ผิวต้องขาวผ่อง

จงเป็นอย่างนี้เถอะ อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย .. .

ความชราคร่ำคร่ากลืนกิน ความจริงก็ปรากฏ 

มันไม่สามารถบังคับบัญชาการ 

 

คนที่เมาอยู่ในรูป ก็เลยไม่ได้สนใจศึกษา

ในสิ่งที่ตนจะต้องเผชิญคือ ค ว า ม เ สื่ อ ม  

ความชรา ความเจ็บไข้ได้ป่วย แม้แต่ความตาย 

ก็ลืมไป ไม่รู้ว่าตัวเองจะต้องตาย 

 

ความเมา ความหลงอยู่ในรูป หลงอยู่กามคุณ 

แสวงหา เพลิดเพลินอยู่ หลงอยู่ เมาอยู่ 

เหมือนโดนอสรพิษร้ายฉกกัด ตาบอด หูหนวก

ใครจะพูดถึงโทษของความพลัดพราก 

ก็ไม่ประจักษ์แจ้งแก่ใจ เพราะมันกำลังสนุกสนาน 

กำลังมัวเมาอยู่ หมกมุ่น หลงติดอยู่ในสิ่งนั้น 

 

เหมือนโดนอสรพิษร้ายฉกกัด ทำให้ตาบอด หูหนวก เห็นไหม? 

ความหลงเป็นภัย เป็นพิษร้าย เข้าใจผิด เห็นผิด

เข้าใจว่าสิ่งที่เรากำลังทำอยู่จะเกิดประโยชน์ 

เมื่อรู้สึกตัวเราเสียเวลามาตั้งนาน เราแสวงหาทรัพย์

ยศ สรรเสริญ เราแสวงหามาตลอด .. .

 

เข้าใจว่าสิ่งเหล่านี้จะเป็นที่พึ่งให้เราได้จริง 

เมื่อรู้สึกตัวอีกทีนึง เราเข้าใจผิด สิ่งนี้ไม่มีอยู่จริง 

เมื่อเราเริ่มรู้สึกตัวแล้ว ก็เริ่มพลัดพรากจากวัยแล้ว  

เห็นตัวเองในกระจก เมื่อก่อนเราหนุ่มกว่านี้ เมื่อก่อนเราสาวกว่านี้ 

มันไม่ได้จบเท่านั้น เรากำลังร่วงโรยไป กำลังเสื่อมสลายไป

สู่ความ ต า ย  เป็นที่สุด .. .

 

อะไรคือสมบัติที่เราจะหวังพึ่งได้จริง ความรู้ที่มันซ่อนอยู่ในใจเรา 

ที่มันออกมาแสวงหาความรู้อันยิ่ง มีสิ่งไหนที่เป็นที่พึ่งของสรรพสัตว์ 

อะไรจะทำให้เราพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดนี้ไปได้

 

สิ่งไหนเป็นยอดแห่งวิชา …เป็นวิชาที่นำมาสรรพสัตว์ออกจากทุกข์ 

ออกจากความบีบคั้น ออกจากการเวียนว่ายตายเกิด 

 

“ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ”

เลยถูกยกย่องเป็นพระบรมครู ไม่มีครูอื่นจะยิ่งกว่า 

เป็นครูผู้สอนให้สรรพสัตว์ไปสู่สุคติสุคโต

นำพาสรรพสัตว์ให้ พ้นจากทุกข์ พ้นความบีบคั้น 

พ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด

 

 

ธรรมะที่พระพุทธเจ้าได้ตัดเอาไว้ชอบแล้ว 

สามารถเกื้อกูลประโยชน์ต่อสรรพสัตว์ได้ 

แต่เพราะเราไม่ได้สนใจในการศึกษา แก้ไขความเห็นผิด 

ก็เลยเพลิดเพลิน มัวเมา ไปในกระแสของโลก .. .

 

เมื่อเรารู้สึกตัว เมื่อถูกความทุกข์บีบคั้น

เมื่อถูกความพลัดพรากบีบคั้น น้ำตานองหน้า 

เราถึงสนใจหันกลับมา อะไรคือที่พึ่งแห่งเรา 

อะไรคือสิ่งที่จะพาเราออกจากทุกข์ นี่คือคนที่เริ่มรู้สึกตัวแล้ว

 

หันกลับมาศึกษา หนทางที่จะออกจากทุกข์แล้ว 

เงี่ยหูฟัง เปิดใจในการศึกษา ในการพัฒนาจิตภาวนา

เราก็จะเห็น เรานี่หลงทางมานาน แสวงหาอยู่

แสวงหาทางกลับบ้านมานานมากแล้ว หลงทางมานาน

เป็นกัปเป็นกัลป์หาทางกลับบ้านไม่เจอ 

 

แต่เมื่อมีคนบอกให้หันกลับมาเฝ้าดูกายใจแห่งตน 

ความสุขไม่ได้อยู่ข้างนอกเลยท่านทั้งหลาย 

ความสุขมันซ่อนอยู่ในจิตใจของตน ที่พึ่ง

ที่เราจะหวังพึ่งได้จริง ไม่ได้อยู่ข้างนอกเลยท่านทั้งหลาย 

 

ตื่นขึ้นเถิด วัฏจักรสงสารนี้ช่างยาวนาน 

พวกเราหลงทางมาแล้วกี่กัปกี่กัลป์ นับไม่ได้ .. 

อยู่ในโลกแห่งความกลัว การแก่งแย่ง แข่งขัน 

ความบีบคั้นด้วยอำนาจแห่งความโลภ ความหิวกระหาย

ร้อนก็ร้อน กันดารก็กันดาร หิวก็หิว โลกนี้ไม่ใช่ที่พึ่งของสรรพสัตว์

 

การมองกับเข้ามาสู่จิตใจตน บางทีอาจจะเห็นสมบัติที่แท้จริง 

ที่เราจะหวังพึ่งได้ มันซ่อนอยู่กับพวกเราทุกคนนี่เอง .. .

 


#พระอาจารย์ตะวัน_ปัญญาวัฒฑโก
#สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง

#พระอาจารย์ตะวัน

พระอาจารย์ตะวัน

สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง

พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์

พระอาจารย์ตะวัน

สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง

พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์

พระอาจารย์ตะวัน

สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง

พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์

พระอาจารย์ตะวัน

สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง

พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์