วิปัสสนาญาณคืออะไร?
พระอาจารย์ตะวัน
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
บทบรรยาย
วิปัสสนาญาณคืออะไร ?
วิปัสสนาญาณ คือวิปัสสนาก็คือความรู้ที่ตรงต่อความจริง
ญาณก็คือการสอดส่องการดู เห็นอะไรก็จริงไปหมด
ความจริงคืออะไร..
ความจริงคือสิ่งที่มันมีอยู่แล้ว สิ่งที่มันเป็นอยู่แล้วความจริง
เราจะเห็นมันก็จริง เราไม่เห็นมันก็จริง เหมือนแสงสว่าง
แสงสว่างก็จริง ความมืดมันก็จริง
ดีก็จริง ชั่วก็จริง รู้ก็จริง ไม่รู้ก็จริง
แต่โดยพื้นฐาน..
เราจะมองโลกโดยผ่านประสบการณ์ของตัวเอง
เราก็จะหมายว่าทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้
มันจะต้องเหมือนอย่างที่เรารู้ ที่เราเห็น
มันจะเปรียบเทียบความรู้ของตัวเองเป็นบรรทัดฐาน
การที่เราจะเห็นความจริงได้ชัด..
เราจะต้อง“ทำลาย”ฐานความรู้เดิมของตน
ก็คือ“ทิฐิของตน”หรือ“ความเห็นของตน”นั่นเอง
การทำลายฐานความรู้เดิมของตนก็คือ สมาธิ
ก็คือ ใจที่เป็นกลาง.. .
อย่าเพิ่งเชื่อว่าตนรู้ อย่าเพิ่งเข้าใจว่าตนรู้
อย่าเพิ่งเชื่อ แล้วก็..อย่าเพิ่งคัดค้าน วางใจไว้กลางๆ
เปิดใจในการเรียนรู้ตามความจริงได้
ความจริงก็คือปราศจากอคติ
ใจที่ปราศจากอคติก็จะเรียนรู้ความจริงที่มีอยู่แล้วได้
เราจะเห็นความจริงของธรรมทั้งสองฝั่ง
ฝั่งที่เป็นกุศล ฝั่งที่เป็นอกุศล เราจะเห็น เราจะรู้ได้ด้วยตัวเอง
แต่ฐานของความรู้นั้น..มันต้องมี“ความสงบระงับ”เป็นบาทฐาน
ใจต้องสงบระงับลงก่อน
ไม่ตามอารมณ์ความชอบใจ ความไม่ชอบใจ
เวลาที่เราฟังธรรมเนี่ย มันก็จะผ่านอารมณ์นั้น.. .
เมื่อก่อนมันต้องอาศัยความยินดี ความพอใจ
ความชอบใจ ในการศึกษาบางสิ่งบางอย่าง
ต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจของตนในการศึกษา
แต่การศึกษาธรรมะเนี่ย มันต้องข้ามอารมณ์
ข้ามจินตนาการ ข้ามความคิดไป
เหมือนเราฟังธรรม เราไม่ได้ฟังเอาภาษา
มันฟังเอาเจตนาหรือความหมาย เจตนามันจะลึกกว่าภาษา
ในภาษาหรือตำรับตำรา
เราจะไม่รู้เลยว่า มันถูกหรือผิดแบบไหน
มันจริงหรือไม่จริงประมาณไหน มันจะรู้ไม่ได้
แต่เราจะรู้จากเจตนาคือ จุดหมายนั่นเอง
มันเลยมันเลยละเอียดกว่าภาษาพูด
คนภาวนาก็เลยไม่ได้ฟังเอาภาษาธรรม
เราโฟกัส จะเห็นใจที่ “สงบระงับตั้งมั่น”
ฐานของใจที่สงบระงับตั้งมั่นนี่แหละ
จะเป็นฐานรองรับกับ วิปัสสนาญาณ
คือเราไม่เห็นมันก็จริงอยู่ เราเห็นมันก็จริงอยู่
วิปัสสนาญาณคือความจริง ความรู้ที่ตรงต่อความจริง
เมื่อไหร่ก็ตามที่ความรู้ของเรา
ที่เรารู้ผ่าน ตา หู จมูก ลิ้น กาย
เมื่อใจเราตรงต่อความจริงแล้ว
ใจเรากับความจริงมันจะไม่ขัดแย้งกัน
เพราะมันอยู่เหนือความพอใจ ไม่พอใจ
ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความชอบใจ
ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความเข้าใจ ไม่เข้าใจ
เพราะความจริงมันเป็นอย่างนั้นของมันอยู่แล้ว
เราจะชอบใจหรือ ไม่ชอบใจ มันก็จริง
เราได้แต่เรียนรู้ในการยอมรับมัน ในสิ่งที่จะต้องเผชิญ
เมื่อใจกับความจริงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันแล้วเนี่ย
มันก็เรียนรู้ในการ“ยอมรับแบบไม่มีความเห็น”
เรียนรู้กับสิ่งที่เกิดขึ้นทุกอย่าง
อะไรที่มันเกิดขึ้น สิ่งนั้นมันจริงของมันอย่างนั้น
ดีก็จริงอย่างนั้น ชั่วก็จริงอย่างนั้น
สว่างก็จริง มืดก็จริง ใกล้ก็จริง ไกลก็จริง
ละเอียดก็จริง หยาบก็จริง ชอบก็จริง ไม่ชอบก็จริง
ความจริงเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้ว ไม่ได้ไปตามหาที่ไหน
เพียงแต่ “ทำลายความเห็นของตัวเองลง”
ความรู้ กับ ความจริง ก็เลยเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
เมื่อความรู้กับความจริงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
มันก็ไม่ขัดแย้ง “ใจก็ไม่ทุกข์”
(บทความถอดจากไลฟ์สด #พระอาจารย์ตะวัน เช้าวันที่ 05 ส.ค. 66)
หรือรับฟังได้ที่ 🎧👇
https://open.spotify.com/episode/5wiSguGoAViWDtcNcx4v3s
#พระอาจารย์ตะวัน_ปัญญาวัฒฑโก
#สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
วิปัสสนาญาณคืออะไร ?
วิปัสสนาญาณ คือวิปัสสนาก็คือความรู้ที่ตรงต่อความจริง
ญาณก็คือการสอดส่องการดู เห็นอะไรก็จริงไปหมด
ความจริงคืออะไร..
ความจริงคือสิ่งที่มันมีอยู่แล้ว สิ่งที่มันเป็นอยู่แล้วความจริง
เราจะเห็นมันก็จริง เราไม่เห็นมันก็จริง เหมือนแสงสว่าง
แสงสว่างก็จริง ความมืดมันก็จริง
ดีก็จริง ชั่วก็จริง รู้ก็จริง ไม่รู้ก็จริง
แต่โดยพื้นฐาน..
เราจะมองโลกโดยผ่านประสบการณ์ของตัวเอง
เราก็จะหมายว่าทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้
มันจะต้องเหมือนอย่างที่เรารู้ ที่เราเห็น
มันจะเปรียบเทียบความรู้ของตัวเองเป็นบรรทัดฐาน
การที่เราจะเห็นความจริงได้ชัด..
เราจะต้อง“ทำลาย”ฐานความรู้เดิมของตน
ก็คือ“ทิฐิของตน”หรือ“ความเห็นของตน”นั่นเอง
การทำลายฐานความรู้เดิมของตนก็คือ สมาธิ
ก็คือ ใจที่เป็นกลาง.. .
อย่าเพิ่งเชื่อว่าตนรู้ อย่าเพิ่งเข้าใจว่าตนรู้
อย่าเพิ่งเชื่อ แล้วก็..อย่าเพิ่งคัดค้าน วางใจไว้กลางๆ
เปิดใจในการเรียนรู้ตามความจริงได้
ความจริงก็คือปราศจากอคติ
ใจที่ปราศจากอคติก็จะเรียนรู้ความจริงที่มีอยู่แล้วได้
เราจะเห็นความจริงของธรรมทั้งสองฝั่ง
ฝั่งที่เป็นกุศล ฝั่งที่เป็นอกุศล เราจะเห็น เราจะรู้ได้ด้วยตัวเอง
แต่ฐานของความรู้นั้น..มันต้องมี“ความสงบระงับ”เป็นบาทฐาน
ใจต้องสงบระงับลงก่อน
ไม่ตามอารมณ์ความชอบใจ ความไม่ชอบใจ
เวลาที่เราฟังธรรมเนี่ย มันก็จะผ่านอารมณ์นั้น.. .
เมื่อก่อนมันต้องอาศัยความยินดี ความพอใจ
ความชอบใจ ในการศึกษาบางสิ่งบางอย่าง
ต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจของตนในการศึกษา
แต่การศึกษาธรรมะเนี่ย มันต้องข้ามอารมณ์
ข้ามจินตนาการ ข้ามความคิดไป
เหมือนเราฟังธรรม เราไม่ได้ฟังเอาภาษา
มันฟังเอาเจตนาหรือความหมาย เจตนามันจะลึกกว่าภาษา
ในภาษาหรือตำรับตำรา
เราจะไม่รู้เลยว่า มันถูกหรือผิดแบบไหน
มันจริงหรือไม่จริงประมาณไหน มันจะรู้ไม่ได้
แต่เราจะรู้จากเจตนาคือ จุดหมายนั่นเอง
มันเลยมันเลยละเอียดกว่าภาษาพูด
คนภาวนาก็เลยไม่ได้ฟังเอาภาษาธรรม
เราโฟกัส จะเห็นใจที่ “สงบระงับตั้งมั่น”
ฐานของใจที่สงบระงับตั้งมั่นนี่แหละ
จะเป็นฐานรองรับกับ วิปัสสนาญาณ
คือเราไม่เห็นมันก็จริงอยู่ เราเห็นมันก็จริงอยู่
วิปัสสนาญาณคือความจริง ความรู้ที่ตรงต่อความจริง
เมื่อไหร่ก็ตามที่ความรู้ของเรา
ที่เรารู้ผ่าน ตา หู จมูก ลิ้น กาย
เมื่อใจเราตรงต่อความจริงแล้ว
ใจเรากับความจริงมันจะไม่ขัดแย้งกัน
เพราะมันอยู่เหนือความพอใจ ไม่พอใจ
ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความชอบใจ
ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความเข้าใจ ไม่เข้าใจ
เพราะความจริงมันเป็นอย่างนั้นของมันอยู่แล้ว
เราจะชอบใจหรือ ไม่ชอบใจ มันก็จริง
เราได้แต่เรียนรู้ในการยอมรับมัน ในสิ่งที่จะต้องเผชิญ
เมื่อใจกับความจริงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันแล้วเนี่ย
มันก็เรียนรู้ในการ“ยอมรับแบบไม่มีความเห็น”
เรียนรู้กับสิ่งที่เกิดขึ้นทุกอย่าง
อะไรที่มันเกิดขึ้น สิ่งนั้นมันจริงของมันอย่างนั้น
ดีก็จริงอย่างนั้น ชั่วก็จริงอย่างนั้น
สว่างก็จริง มืดก็จริง ใกล้ก็จริง ไกลก็จริง
ละเอียดก็จริง หยาบก็จริง ชอบก็จริง ไม่ชอบก็จริง
ความจริงเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้ว ไม่ได้ไปตามหาที่ไหน
เพียงแต่ “ทำลายความเห็นของตัวเองลง”
ความรู้ กับ ความจริง ก็เลยเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
เมื่อความรู้กับความจริงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
มันก็ไม่ขัดแย้ง “ใจก็ไม่ทุกข์”
(บทความถอดจากไลฟ์สด #พระอาจารย์ตะวัน เช้าวันที่ 05 ส.ค. 66)
หรือรับฟังได้ที่ 🎧👇
https://open.spotify.com/episode/5wiSguGoAViWDtcNcx4v3s
#พระอาจารย์ตะวัน_ปัญญาวัฒฑโก
#สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
วิปัสสนาญาณคืออะไร ?
วิปัสสนาญาณ คือวิปัสสนาก็คือความรู้ที่ตรงต่อความจริง
ญาณก็คือการสอดส่องการดู เห็นอะไรก็จริงไปหมด
ความจริงคืออะไร..
ความจริงคือสิ่งที่มันมีอยู่แล้ว สิ่งที่มันเป็นอยู่แล้วความจริง
เราจะเห็นมันก็จริง เราไม่เห็นมันก็จริง เหมือนแสงสว่าง
แสงสว่างก็จริง ความมืดมันก็จริง
ดีก็จริง ชั่วก็จริง รู้ก็จริง ไม่รู้ก็จริง
แต่โดยพื้นฐาน..
เราจะมองโลกโดยผ่านประสบการณ์ของตัวเอง
เราก็จะหมายว่าทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้
มันจะต้องเหมือนอย่างที่เรารู้ ที่เราเห็น
มันจะเปรียบเทียบความรู้ของตัวเองเป็นบรรทัดฐาน
การที่เราจะเห็นความจริงได้ชัด..
เราจะต้อง“ทำลาย”ฐานความรู้เดิมของตน
ก็คือ“ทิฐิของตน”หรือ“ความเห็นของตน”นั่นเอง
การทำลายฐานความรู้เดิมของตนก็คือ สมาธิ
ก็คือ ใจที่เป็นกลาง.. .
อย่าเพิ่งเชื่อว่าตนรู้ อย่าเพิ่งเข้าใจว่าตนรู้
อย่าเพิ่งเชื่อ แล้วก็..อย่าเพิ่งคัดค้าน วางใจไว้กลางๆ
เปิดใจในการเรียนรู้ตามความจริงได้
ความจริงก็คือปราศจากอคติ
ใจที่ปราศจากอคติก็จะเรียนรู้ความจริงที่มีอยู่แล้วได้
เราจะเห็นความจริงของธรรมทั้งสองฝั่ง
ฝั่งที่เป็นกุศล ฝั่งที่เป็นอกุศล เราจะเห็น เราจะรู้ได้ด้วยตัวเอง
แต่ฐานของความรู้นั้น..มันต้องมี“ความสงบระงับ”เป็นบาทฐาน
ใจต้องสงบระงับลงก่อน
ไม่ตามอารมณ์ความชอบใจ ความไม่ชอบใจ
เวลาที่เราฟังธรรมเนี่ย มันก็จะผ่านอารมณ์นั้น.. .
เมื่อก่อนมันต้องอาศัยความยินดี ความพอใจ
ความชอบใจ ในการศึกษาบางสิ่งบางอย่าง
ต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจของตนในการศึกษา
แต่การศึกษาธรรมะเนี่ย มันต้องข้ามอารมณ์
ข้ามจินตนาการ ข้ามความคิดไป
เหมือนเราฟังธรรม เราไม่ได้ฟังเอาภาษา
มันฟังเอาเจตนาหรือความหมาย เจตนามันจะลึกกว่าภาษา
ในภาษาหรือตำรับตำรา
เราจะไม่รู้เลยว่า มันถูกหรือผิดแบบไหน
มันจริงหรือไม่จริงประมาณไหน มันจะรู้ไม่ได้
แต่เราจะรู้จากเจตนาคือ จุดหมายนั่นเอง
มันเลยมันเลยละเอียดกว่าภาษาพูด
คนภาวนาก็เลยไม่ได้ฟังเอาภาษาธรรม
เราโฟกัส จะเห็นใจที่ “สงบระงับตั้งมั่น”
ฐานของใจที่สงบระงับตั้งมั่นนี่แหละ
จะเป็นฐานรองรับกับ วิปัสสนาญาณ
คือเราไม่เห็นมันก็จริงอยู่ เราเห็นมันก็จริงอยู่
วิปัสสนาญาณคือความจริง ความรู้ที่ตรงต่อความจริง
เมื่อไหร่ก็ตามที่ความรู้ของเรา
ที่เรารู้ผ่าน ตา หู จมูก ลิ้น กาย
เมื่อใจเราตรงต่อความจริงแล้ว
ใจเรากับความจริงมันจะไม่ขัดแย้งกัน
เพราะมันอยู่เหนือความพอใจ ไม่พอใจ
ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความชอบใจ
ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความเข้าใจ ไม่เข้าใจ
เพราะความจริงมันเป็นอย่างนั้นของมันอยู่แล้ว
เราจะชอบใจหรือ ไม่ชอบใจ มันก็จริง
เราได้แต่เรียนรู้ในการยอมรับมัน ในสิ่งที่จะต้องเผชิญ
เมื่อใจกับความจริงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันแล้วเนี่ย
มันก็เรียนรู้ในการ“ยอมรับแบบไม่มีความเห็น”
เรียนรู้กับสิ่งที่เกิดขึ้นทุกอย่าง
อะไรที่มันเกิดขึ้น สิ่งนั้นมันจริงของมันอย่างนั้น
ดีก็จริงอย่างนั้น ชั่วก็จริงอย่างนั้น
สว่างก็จริง มืดก็จริง ใกล้ก็จริง ไกลก็จริง
ละเอียดก็จริง หยาบก็จริง ชอบก็จริง ไม่ชอบก็จริง
ความจริงเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้ว ไม่ได้ไปตามหาที่ไหน
เพียงแต่ “ทำลายความเห็นของตัวเองลง”
ความรู้ กับ ความจริง ก็เลยเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
เมื่อความรู้กับความจริงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
มันก็ไม่ขัดแย้ง “ใจก็ไม่ทุกข์”
(บทความถอดจากไลฟ์สด #พระอาจารย์ตะวัน เช้าวันที่ 05 ส.ค. 66)
หรือรับฟังได้ที่ 🎧👇
https://open.spotify.com/episode/5wiSguGoAViWDtcNcx4v3s
#พระอาจารย์ตะวัน_ปัญญาวัฒฑโก
#สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
วิปัสสนาญาณคืออะไร ?
วิปัสสนาญาณ คือวิปัสสนาก็คือความรู้ที่ตรงต่อความจริง
ญาณก็คือการสอดส่องการดู เห็นอะไรก็จริงไปหมด
ความจริงคืออะไร..
ความจริงคือสิ่งที่มันมีอยู่แล้ว สิ่งที่มันเป็นอยู่แล้วความจริง
เราจะเห็นมันก็จริง เราไม่เห็นมันก็จริง เหมือนแสงสว่าง
แสงสว่างก็จริง ความมืดมันก็จริง
ดีก็จริง ชั่วก็จริง รู้ก็จริง ไม่รู้ก็จริง
แต่โดยพื้นฐาน..
เราจะมองโลกโดยผ่านประสบการณ์ของตัวเอง
เราก็จะหมายว่าทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้
มันจะต้องเหมือนอย่างที่เรารู้ ที่เราเห็น
มันจะเปรียบเทียบความรู้ของตัวเองเป็นบรรทัดฐาน
การที่เราจะเห็นความจริงได้ชัด..
เราจะต้อง“ทำลาย”ฐานความรู้เดิมของตน
ก็คือ“ทิฐิของตน”หรือ“ความเห็นของตน”นั่นเอง
การทำลายฐานความรู้เดิมของตนก็คือ สมาธิ
ก็คือ ใจที่เป็นกลาง.. .
อย่าเพิ่งเชื่อว่าตนรู้ อย่าเพิ่งเข้าใจว่าตนรู้
อย่าเพิ่งเชื่อ แล้วก็..อย่าเพิ่งคัดค้าน วางใจไว้กลางๆ
เปิดใจในการเรียนรู้ตามความจริงได้
ความจริงก็คือปราศจากอคติ
ใจที่ปราศจากอคติก็จะเรียนรู้ความจริงที่มีอยู่แล้วได้
เราจะเห็นความจริงของธรรมทั้งสองฝั่ง
ฝั่งที่เป็นกุศล ฝั่งที่เป็นอกุศล เราจะเห็น เราจะรู้ได้ด้วยตัวเอง
แต่ฐานของความรู้นั้น..มันต้องมี“ความสงบระงับ”เป็นบาทฐาน
ใจต้องสงบระงับลงก่อน
ไม่ตามอารมณ์ความชอบใจ ความไม่ชอบใจ
เวลาที่เราฟังธรรมเนี่ย มันก็จะผ่านอารมณ์นั้น.. .
เมื่อก่อนมันต้องอาศัยความยินดี ความพอใจ
ความชอบใจ ในการศึกษาบางสิ่งบางอย่าง
ต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจของตนในการศึกษา
แต่การศึกษาธรรมะเนี่ย มันต้องข้ามอารมณ์
ข้ามจินตนาการ ข้ามความคิดไป
เหมือนเราฟังธรรม เราไม่ได้ฟังเอาภาษา
มันฟังเอาเจตนาหรือความหมาย เจตนามันจะลึกกว่าภาษา
ในภาษาหรือตำรับตำรา
เราจะไม่รู้เลยว่า มันถูกหรือผิดแบบไหน
มันจริงหรือไม่จริงประมาณไหน มันจะรู้ไม่ได้
แต่เราจะรู้จากเจตนาคือ จุดหมายนั่นเอง
มันเลยมันเลยละเอียดกว่าภาษาพูด
คนภาวนาก็เลยไม่ได้ฟังเอาภาษาธรรม
เราโฟกัส จะเห็นใจที่ “สงบระงับตั้งมั่น”
ฐานของใจที่สงบระงับตั้งมั่นนี่แหละ
จะเป็นฐานรองรับกับ วิปัสสนาญาณ
คือเราไม่เห็นมันก็จริงอยู่ เราเห็นมันก็จริงอยู่
วิปัสสนาญาณคือความจริง ความรู้ที่ตรงต่อความจริง
เมื่อไหร่ก็ตามที่ความรู้ของเรา
ที่เรารู้ผ่าน ตา หู จมูก ลิ้น กาย
เมื่อใจเราตรงต่อความจริงแล้ว
ใจเรากับความจริงมันจะไม่ขัดแย้งกัน
เพราะมันอยู่เหนือความพอใจ ไม่พอใจ
ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความชอบใจ
ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความเข้าใจ ไม่เข้าใจ
เพราะความจริงมันเป็นอย่างนั้นของมันอยู่แล้ว
เราจะชอบใจหรือ ไม่ชอบใจ มันก็จริง
เราได้แต่เรียนรู้ในการยอมรับมัน ในสิ่งที่จะต้องเผชิญ
เมื่อใจกับความจริงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันแล้วเนี่ย
มันก็เรียนรู้ในการ“ยอมรับแบบไม่มีความเห็น”
เรียนรู้กับสิ่งที่เกิดขึ้นทุกอย่าง
อะไรที่มันเกิดขึ้น สิ่งนั้นมันจริงของมันอย่างนั้น
ดีก็จริงอย่างนั้น ชั่วก็จริงอย่างนั้น
สว่างก็จริง มืดก็จริง ใกล้ก็จริง ไกลก็จริง
ละเอียดก็จริง หยาบก็จริง ชอบก็จริง ไม่ชอบก็จริง
ความจริงเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้ว ไม่ได้ไปตามหาที่ไหน
เพียงแต่ “ทำลายความเห็นของตัวเองลง”
ความรู้ กับ ความจริง ก็เลยเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
เมื่อความรู้กับความจริงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
มันก็ไม่ขัดแย้ง “ใจก็ไม่ทุกข์”
(บทความถอดจากไลฟ์สด #พระอาจารย์ตะวัน เช้าวันที่ 05 ส.ค. 66)
หรือรับฟังได้ที่ 🎧👇
https://open.spotify.com/episode/5wiSguGoAViWDtcNcx4v3s
#พระอาจารย์ตะวัน_ปัญญาวัฒฑโก
#สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน
สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์
พระอาจารย์ตะวัน
สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์
พระอาจารย์ตะวัน
สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์
พระอาจารย์ตะวัน
สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์
ธรรมมะจากผู้บรรยายเดียวกัน
พระอาจารย์ตะวัน
สมบัติของใจ
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
สมบัติของใจ
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
สมบัติของใจ
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
ความคิดกับปัญญาที่แท้จริง ต่างกันอย่างไร?
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
ความคิดกับปัญญาที่แท้จริง ต่างกันอย่างไร?
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
ความคิดกับปัญญาที่แท้จริง ต่างกันอย่างไร?
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
เพราะความไม่รู้
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
เพราะความไม่รู้
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
เพราะความไม่รู้
ข้อธรรมคําสอน
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com