ความสมบูรณ์แบบ มันไม่ได้มีอยู่จริง
พระอาจารย์ตะวัน
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
บทบรรยาย
คุณสมบัติของความเพอร์เฟค (perfect)
ความสมบูรณ์แบบ มันไม่ได้มีอยู่จริงหรอก
เราแค่วาดไว้หลอกตัวเองเฉยๆ
ไม่งั้นท่านจะสอนเรื่องทุกข์เหรอ..?
เพราะมันทุกข์ เพราะมันไม่แน่นอน
เพราะมันไม่น่าไว้วางใจ
แต่เราไปวาดไว้หลอกตัวเองเอาทั้งนั้นเลย
คนที่ไปเห็นความจริงก็คือ
มันก็เห็นว่าตัวเองหลอกตัวเอง
มันก็เลยถอนออกมาแม้แต่ตัวเองก็เชื่อไม่ได้
ก็กลายเป็นศักยะทิฐิ ไม่เชื่อแม้แต่ความคิดของตัวเอง
เป็นผู้สำรวจไตร่ตรองความคิดตัวเอง
สิ่งที่เราคิดอยู่ก็ไม่น่าไว้วางใจ
ความเป็นคุณสมบัติที่ดี(perfect)มันก็เลยไม่ได้มีค่า
จะบอกว่าแม้ถูกแต่ไปยึดก็ผิด
แม้เราปฏิบัติถูกถ้าเราไปยึดก็ผิด
ธรรมทั้งหลายจึงไม่ควรสำคัญมั่นหมาย
ไม่ควรยึดมั่นถือมั่นว่าเราเป็นคนทำ
เราแค่ทำตามหน้าที่เฉยๆ
ธรรมะที่แท้จริงมันสะท้อนหัวใจของตัวเอง
ที่เรากำลังจะพยายามเข้าไปควบคุมให้มันได้ดั่งใจเรา
มันมีตัวที่มันคอยบงการอยู่ก็คือ ความไม่รู้นั่นเอง
ความไม่รู้จริง.. มันก็เลยบงการทุกอย่างให้มันได้ดั่งใจ
อยากให้มันถูกดั่งใจหมดทุกอย่าง
แต่ในความเป็นจริงในโลกใบนี้
มันมีคนที่รักเราก็มี คนที่เกลียดเราก็มี
คนที่เข้าใจเราก็มี คนที่ไม่เข้าใจเราก็มี นี่คือความจริงนะ
เป็นความเป็นกลางของโลกเลย
เราจะเลือกเอาตามที่เราชอบใจไม่ได้
เมื่อเรารู้จักความจริงของโลก
เราก็ต้องยอมรับว่ามันเป็นอย่างนี้แหละ
มันเป็นอย่างอื่นไปไม่ได้ก็คือ ถอนความเห็นตัวเองออก.. .
“เราก็กลายเป็นผู้เรียนรู้ความจริง แล้วก็ยอมรับได้
โดยที่เราไม่มีข้อคิดเห็นเข้าไปขัดแย้งในความจริงนั้น”
ถอนความพอใจ ไม่พอใจ เห็นโลกนี้เป็นของว่างเปล่า
เพราะทุกอย่างมันเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
ทุกอย่างมันเป็นของว่างเปล่าทั้งหมดอยู่แล้ว
แต่เรามันมีตัวความเห็น
ที่มันคอยบังคับบัญชาการ คอยบงการว่า ..
ทำไมไม่เป็นอย่างนั้น ? ทำไม่เป็นอย่างนี้ ??
อยากจะให้มันเป็นอย่างนั้น อยากให้มันเป็นอย่างงี้
เรียกว่า”ตัณหา” ที่เกิดจากความไม่รู้
เรียกว่า วิภวตัณหา ก็คืออยากได้ในสิ่งที่เราไม่เข้าใจ
อยากได้ในสิ่งที่มันขัดแย้งต่อความจริง
ไม่อยากแก่ ไม่อยากเจ็บ ไม่อยากตาย
แต่ตัวเองเกิดขึ้นมาแล้วคือ “มันขัดแย้ง”
ผู้มาสำรวจความพอใจ และ ความไม่พอใจของตนนั่นแหละ
เราจะเห็นต้นสายปลายเหตุของความพอใจและความไม่พอใจ
หรือว่าถอนทิฐิของตนออกเสียได้
แล้วก็จะเห็นว่าเอ้ามันคิดนี่ นี่มันชอบนี่ นี่คือความพอใจนี่
นี่คือความไม่พอใจนี่ แต่คนที่มายืนดูอยู่นั่นแหละคือ “สติ”
#พระอาจารย์ตะวัน #พระอาจารย์ตะวัน_ปัญญาวัฒฑโก
#สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
คุณสมบัติของความเพอร์เฟค (perfect)
ความสมบูรณ์แบบ มันไม่ได้มีอยู่จริงหรอก
เราแค่วาดไว้หลอกตัวเองเฉยๆ
ไม่งั้นท่านจะสอนเรื่องทุกข์เหรอ..?
เพราะมันทุกข์ เพราะมันไม่แน่นอน
เพราะมันไม่น่าไว้วางใจ
แต่เราไปวาดไว้หลอกตัวเองเอาทั้งนั้นเลย
คนที่ไปเห็นความจริงก็คือ
มันก็เห็นว่าตัวเองหลอกตัวเอง
มันก็เลยถอนออกมาแม้แต่ตัวเองก็เชื่อไม่ได้
ก็กลายเป็นศักยะทิฐิ ไม่เชื่อแม้แต่ความคิดของตัวเอง
เป็นผู้สำรวจไตร่ตรองความคิดตัวเอง
สิ่งที่เราคิดอยู่ก็ไม่น่าไว้วางใจ
ความเป็นคุณสมบัติที่ดี(perfect)มันก็เลยไม่ได้มีค่า
จะบอกว่าแม้ถูกแต่ไปยึดก็ผิด
แม้เราปฏิบัติถูกถ้าเราไปยึดก็ผิด
ธรรมทั้งหลายจึงไม่ควรสำคัญมั่นหมาย
ไม่ควรยึดมั่นถือมั่นว่าเราเป็นคนทำ
เราแค่ทำตามหน้าที่เฉยๆ
ธรรมะที่แท้จริงมันสะท้อนหัวใจของตัวเอง
ที่เรากำลังจะพยายามเข้าไปควบคุมให้มันได้ดั่งใจเรา
มันมีตัวที่มันคอยบงการอยู่ก็คือ ความไม่รู้นั่นเอง
ความไม่รู้จริง.. มันก็เลยบงการทุกอย่างให้มันได้ดั่งใจ
อยากให้มันถูกดั่งใจหมดทุกอย่าง
แต่ในความเป็นจริงในโลกใบนี้
มันมีคนที่รักเราก็มี คนที่เกลียดเราก็มี
คนที่เข้าใจเราก็มี คนที่ไม่เข้าใจเราก็มี นี่คือความจริงนะ
เป็นความเป็นกลางของโลกเลย
เราจะเลือกเอาตามที่เราชอบใจไม่ได้
เมื่อเรารู้จักความจริงของโลก
เราก็ต้องยอมรับว่ามันเป็นอย่างนี้แหละ
มันเป็นอย่างอื่นไปไม่ได้ก็คือ ถอนความเห็นตัวเองออก.. .
“เราก็กลายเป็นผู้เรียนรู้ความจริง แล้วก็ยอมรับได้
โดยที่เราไม่มีข้อคิดเห็นเข้าไปขัดแย้งในความจริงนั้น”
ถอนความพอใจ ไม่พอใจ เห็นโลกนี้เป็นของว่างเปล่า
เพราะทุกอย่างมันเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
ทุกอย่างมันเป็นของว่างเปล่าทั้งหมดอยู่แล้ว
แต่เรามันมีตัวความเห็น
ที่มันคอยบังคับบัญชาการ คอยบงการว่า ..
ทำไมไม่เป็นอย่างนั้น ? ทำไม่เป็นอย่างนี้ ??
อยากจะให้มันเป็นอย่างนั้น อยากให้มันเป็นอย่างงี้
เรียกว่า”ตัณหา” ที่เกิดจากความไม่รู้
เรียกว่า วิภวตัณหา ก็คืออยากได้ในสิ่งที่เราไม่เข้าใจ
อยากได้ในสิ่งที่มันขัดแย้งต่อความจริง
ไม่อยากแก่ ไม่อยากเจ็บ ไม่อยากตาย
แต่ตัวเองเกิดขึ้นมาแล้วคือ “มันขัดแย้ง”
ผู้มาสำรวจความพอใจ และ ความไม่พอใจของตนนั่นแหละ
เราจะเห็นต้นสายปลายเหตุของความพอใจและความไม่พอใจ
หรือว่าถอนทิฐิของตนออกเสียได้
แล้วก็จะเห็นว่าเอ้ามันคิดนี่ นี่มันชอบนี่ นี่คือความพอใจนี่
นี่คือความไม่พอใจนี่ แต่คนที่มายืนดูอยู่นั่นแหละคือ “สติ”
#พระอาจารย์ตะวัน #พระอาจารย์ตะวัน_ปัญญาวัฒฑโก
#สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
คุณสมบัติของความเพอร์เฟค (perfect)
ความสมบูรณ์แบบ มันไม่ได้มีอยู่จริงหรอก
เราแค่วาดไว้หลอกตัวเองเฉยๆ
ไม่งั้นท่านจะสอนเรื่องทุกข์เหรอ..?
เพราะมันทุกข์ เพราะมันไม่แน่นอน
เพราะมันไม่น่าไว้วางใจ
แต่เราไปวาดไว้หลอกตัวเองเอาทั้งนั้นเลย
คนที่ไปเห็นความจริงก็คือ
มันก็เห็นว่าตัวเองหลอกตัวเอง
มันก็เลยถอนออกมาแม้แต่ตัวเองก็เชื่อไม่ได้
ก็กลายเป็นศักยะทิฐิ ไม่เชื่อแม้แต่ความคิดของตัวเอง
เป็นผู้สำรวจไตร่ตรองความคิดตัวเอง
สิ่งที่เราคิดอยู่ก็ไม่น่าไว้วางใจ
ความเป็นคุณสมบัติที่ดี(perfect)มันก็เลยไม่ได้มีค่า
จะบอกว่าแม้ถูกแต่ไปยึดก็ผิด
แม้เราปฏิบัติถูกถ้าเราไปยึดก็ผิด
ธรรมทั้งหลายจึงไม่ควรสำคัญมั่นหมาย
ไม่ควรยึดมั่นถือมั่นว่าเราเป็นคนทำ
เราแค่ทำตามหน้าที่เฉยๆ
ธรรมะที่แท้จริงมันสะท้อนหัวใจของตัวเอง
ที่เรากำลังจะพยายามเข้าไปควบคุมให้มันได้ดั่งใจเรา
มันมีตัวที่มันคอยบงการอยู่ก็คือ ความไม่รู้นั่นเอง
ความไม่รู้จริง.. มันก็เลยบงการทุกอย่างให้มันได้ดั่งใจ
อยากให้มันถูกดั่งใจหมดทุกอย่าง
แต่ในความเป็นจริงในโลกใบนี้
มันมีคนที่รักเราก็มี คนที่เกลียดเราก็มี
คนที่เข้าใจเราก็มี คนที่ไม่เข้าใจเราก็มี นี่คือความจริงนะ
เป็นความเป็นกลางของโลกเลย
เราจะเลือกเอาตามที่เราชอบใจไม่ได้
เมื่อเรารู้จักความจริงของโลก
เราก็ต้องยอมรับว่ามันเป็นอย่างนี้แหละ
มันเป็นอย่างอื่นไปไม่ได้ก็คือ ถอนความเห็นตัวเองออก.. .
“เราก็กลายเป็นผู้เรียนรู้ความจริง แล้วก็ยอมรับได้
โดยที่เราไม่มีข้อคิดเห็นเข้าไปขัดแย้งในความจริงนั้น”
ถอนความพอใจ ไม่พอใจ เห็นโลกนี้เป็นของว่างเปล่า
เพราะทุกอย่างมันเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
ทุกอย่างมันเป็นของว่างเปล่าทั้งหมดอยู่แล้ว
แต่เรามันมีตัวความเห็น
ที่มันคอยบังคับบัญชาการ คอยบงการว่า ..
ทำไมไม่เป็นอย่างนั้น ? ทำไม่เป็นอย่างนี้ ??
อยากจะให้มันเป็นอย่างนั้น อยากให้มันเป็นอย่างงี้
เรียกว่า”ตัณหา” ที่เกิดจากความไม่รู้
เรียกว่า วิภวตัณหา ก็คืออยากได้ในสิ่งที่เราไม่เข้าใจ
อยากได้ในสิ่งที่มันขัดแย้งต่อความจริง
ไม่อยากแก่ ไม่อยากเจ็บ ไม่อยากตาย
แต่ตัวเองเกิดขึ้นมาแล้วคือ “มันขัดแย้ง”
ผู้มาสำรวจความพอใจ และ ความไม่พอใจของตนนั่นแหละ
เราจะเห็นต้นสายปลายเหตุของความพอใจและความไม่พอใจ
หรือว่าถอนทิฐิของตนออกเสียได้
แล้วก็จะเห็นว่าเอ้ามันคิดนี่ นี่มันชอบนี่ นี่คือความพอใจนี่
นี่คือความไม่พอใจนี่ แต่คนที่มายืนดูอยู่นั่นแหละคือ “สติ”
#พระอาจารย์ตะวัน #พระอาจารย์ตะวัน_ปัญญาวัฒฑโก
#สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
คุณสมบัติของความเพอร์เฟค (perfect)
ความสมบูรณ์แบบ มันไม่ได้มีอยู่จริงหรอก
เราแค่วาดไว้หลอกตัวเองเฉยๆ
ไม่งั้นท่านจะสอนเรื่องทุกข์เหรอ..?
เพราะมันทุกข์ เพราะมันไม่แน่นอน
เพราะมันไม่น่าไว้วางใจ
แต่เราไปวาดไว้หลอกตัวเองเอาทั้งนั้นเลย
คนที่ไปเห็นความจริงก็คือ
มันก็เห็นว่าตัวเองหลอกตัวเอง
มันก็เลยถอนออกมาแม้แต่ตัวเองก็เชื่อไม่ได้
ก็กลายเป็นศักยะทิฐิ ไม่เชื่อแม้แต่ความคิดของตัวเอง
เป็นผู้สำรวจไตร่ตรองความคิดตัวเอง
สิ่งที่เราคิดอยู่ก็ไม่น่าไว้วางใจ
ความเป็นคุณสมบัติที่ดี(perfect)มันก็เลยไม่ได้มีค่า
จะบอกว่าแม้ถูกแต่ไปยึดก็ผิด
แม้เราปฏิบัติถูกถ้าเราไปยึดก็ผิด
ธรรมทั้งหลายจึงไม่ควรสำคัญมั่นหมาย
ไม่ควรยึดมั่นถือมั่นว่าเราเป็นคนทำ
เราแค่ทำตามหน้าที่เฉยๆ
ธรรมะที่แท้จริงมันสะท้อนหัวใจของตัวเอง
ที่เรากำลังจะพยายามเข้าไปควบคุมให้มันได้ดั่งใจเรา
มันมีตัวที่มันคอยบงการอยู่ก็คือ ความไม่รู้นั่นเอง
ความไม่รู้จริง.. มันก็เลยบงการทุกอย่างให้มันได้ดั่งใจ
อยากให้มันถูกดั่งใจหมดทุกอย่าง
แต่ในความเป็นจริงในโลกใบนี้
มันมีคนที่รักเราก็มี คนที่เกลียดเราก็มี
คนที่เข้าใจเราก็มี คนที่ไม่เข้าใจเราก็มี นี่คือความจริงนะ
เป็นความเป็นกลางของโลกเลย
เราจะเลือกเอาตามที่เราชอบใจไม่ได้
เมื่อเรารู้จักความจริงของโลก
เราก็ต้องยอมรับว่ามันเป็นอย่างนี้แหละ
มันเป็นอย่างอื่นไปไม่ได้ก็คือ ถอนความเห็นตัวเองออก.. .
“เราก็กลายเป็นผู้เรียนรู้ความจริง แล้วก็ยอมรับได้
โดยที่เราไม่มีข้อคิดเห็นเข้าไปขัดแย้งในความจริงนั้น”
ถอนความพอใจ ไม่พอใจ เห็นโลกนี้เป็นของว่างเปล่า
เพราะทุกอย่างมันเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
ทุกอย่างมันเป็นของว่างเปล่าทั้งหมดอยู่แล้ว
แต่เรามันมีตัวความเห็น
ที่มันคอยบังคับบัญชาการ คอยบงการว่า ..
ทำไมไม่เป็นอย่างนั้น ? ทำไม่เป็นอย่างนี้ ??
อยากจะให้มันเป็นอย่างนั้น อยากให้มันเป็นอย่างงี้
เรียกว่า”ตัณหา” ที่เกิดจากความไม่รู้
เรียกว่า วิภวตัณหา ก็คืออยากได้ในสิ่งที่เราไม่เข้าใจ
อยากได้ในสิ่งที่มันขัดแย้งต่อความจริง
ไม่อยากแก่ ไม่อยากเจ็บ ไม่อยากตาย
แต่ตัวเองเกิดขึ้นมาแล้วคือ “มันขัดแย้ง”
ผู้มาสำรวจความพอใจ และ ความไม่พอใจของตนนั่นแหละ
เราจะเห็นต้นสายปลายเหตุของความพอใจและความไม่พอใจ
หรือว่าถอนทิฐิของตนออกเสียได้
แล้วก็จะเห็นว่าเอ้ามันคิดนี่ นี่มันชอบนี่ นี่คือความพอใจนี่
นี่คือความไม่พอใจนี่ แต่คนที่มายืนดูอยู่นั่นแหละคือ “สติ”
#พระอาจารย์ตะวัน #พระอาจารย์ตะวัน_ปัญญาวัฒฑโก
#สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน
สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์
พระอาจารย์ตะวัน
สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์
พระอาจารย์ตะวัน
สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์
พระอาจารย์ตะวัน
สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง
พระอาจารย์ตะวัน ปัญญาวัฒฑโก ณ สำนักสงฆ์ถ้ำแจ้ง จ.ลำปาง ด้วยธรรมที่เรียบง่าย ที่จะทำให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง อย่างน่าอัศจรรย์
ธรรมมะจากผู้บรรยายเดียวกัน
พระอาจารย์ตะวัน
สมบัติของใจ
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
สมบัติของใจ
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
สมบัติของใจ
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
ความคิดกับปัญญาที่แท้จริง ต่างกันอย่างไร?
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
ความคิดกับปัญญาที่แท้จริง ต่างกันอย่างไร?
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
ความคิดกับปัญญาที่แท้จริง ต่างกันอย่างไร?
บทบรรยาย
พระอาจารย์ตะวัน
เพราะความไม่รู้
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
เพราะความไม่รู้
ข้อธรรมคําสอน
พระอาจารย์ตะวัน
เพราะความไม่รู้
ข้อธรรมคําสอน
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com
© 2024 DhammaSinkid.com